เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น ฯลฯ เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตราฯ | Page 37

ทวารวดีแล้ว ความเก่าแก่ของศูนย์กลางทางสังคม วัฒนธรรมในแถบโตนดหลวงมาจนถึงชะอ�ำนี้เห็น ได้จากการมีพระสถูปเจดีย์สมัยทวารวดีขนาดใหญ อยู่หน้าเขาปรางค์อันเป็นเขาลูกหนึ่งในกลุ่มเขา ภาพโบราณวัตถุที่ขุดค้นได้จากโบราณสถานเชิงเขาเจ้าลาย (ภาพจากป้ายนิทรรศการด้านหน้าโบราณสถาน) พันธุรัตซึ่งในอดีตเรียกว่า เขาเจ้าลาย ปัจจุบ น ั ศาสนสถานแห่งนี อ ้ ยู่ในบริเวณวัดทุ ง ่ เศรษฐี เมื่อมีการขุดค้นทางโบราณคดีแล้วได้หลัก ฐานที่ชี้ ให้เห็นว่าเป็นพระสถูป ในพุทธที่มีอิทธิพล ศาสนาพุทธมหายานเช่นเดียวกันกับบรรดาศาสน สถานที่เมืองคูบัวและมีความสัมพันธ์กับเมืองคูบัว ที่พัฒนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ เป็นต้นมา หลังการขุดแต่งทางโบราณคดีแล้วพบว่าม ฐานขนาดใหญ่ทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสกว้าง ๒๕ เมตร ยาว ๒๕ เมตร ส่วนสูงที่เหลือคือ ๕ เมตร ก่ออิฐ ขนาดใหญ่แบบอิฐทวารวดีสอดินฉาบปูนเหลือเพียง ส่วนฐาน หันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีบันไดขึ้น สู่ฐานประทักษิณที่ตรงกึ่งกลางด้านทิศตะวันออก และทิศตะวันตก ผนังด้านข้างของฐานประทักษิณ ประดับด้วยเสาอิงห่างกันเป็นระยะ พื้นด้านบนป ด้วยแผ่นอิฐ ถัดขึ น ้ ไปเป็นฐานเขียงรูปสี เ ่ หลี ย ่ มจัต ร ุ ส ั รองรับฐานขององค์สถูป ส่วนบนของสถูปมีสภาพ ช�ำรุดพังทลายลงมาเกือบทั้งหมดจนไม่สามารถ สันนิษฐานรูปทรงเดิมได้ ผังเจดีย น ์ ม ี้ ค ี วามคล้ายคลึง กับโบราณสถานหมายเลย ๘ และ ๓๑ ที่เมือง โบราณคูบ ว ั ซึ ง ่ สันนิษฐานว่ามีอายุราวพุทธศตวรรษ ที่ ๑๓-๑๕ พบปูนปั น ้ ตกอยู จ ่ ำ � นวนมาก กล่าวกันว่าเมื อ ่ มีการขุดหาของเก่านั้น ปูนปั้นมีจ�ำนวนมากขนาด ต้องใช้รถบรรทุกขนจ�ำนวนหลายคัน แต่จากการ ขุดแต่งโบราณสถานพบปูนปั้นส่วนใหญ่ติดอยู่กับ ฐานสถูป แต่อยู่ในสภาพช�ำรุดแตกหักเป็นชิ น ้ ๆ เช่น พระพุทธรูป เน้นที่พระพักตร์รูปไข่ พระอังสากว้าง พระวรกายยืดยาว บั น ้ พระเอวเล็ก ชิ น ้ ส่วนพระหัตถ ที พ ่ บสันนิษฐานว่าแสดงปางประทานอภัยและแสดง ธรรมเทศนา พบทั้งแบบยืนตรงและตริภังค์ พระ พักตร์และพระชงฆ์มีร่องรอยการทาด้วยสีแดงเพื่อ ตกแต่ง ซึ่งรูปแบบและเอกลักษณ์นั้นคล้ายคลึงกับ ปูนปั้นพระโพธิสัตว์และพระพุทธรูปที่พบจากคูบัว และถ�้ำเขาน้อยที่บ้านลาด นอกจากนี้ ยั ง พบปู น ปั ้ น รู ป พระโพธิ สั ต ว เทวดา หรือบุคคลชั น ้ สูง รูปคนแคระ เศียรยักษ์ สิงห ซึ่งคล้ายกับปูนปั้นพบที่คูบัว ที่เจดีย์จุลประโทนใน เมืองนครปฐมโบราณ และเมืองศรีเทพที เ ่ ขาคลังใน แต่เท่าที่มีการขุดแต่งเป็นทางการพบปูนปั้นศีรษะ บุคคลสวมหมวกแขก เช่น ที่พบจากจุลประโทน และสวมหมวกทรงสามเหลี่ยมที่พบจากเมืองคูบัว นอกจากนี้ยังพบรูปศีรษะบุคคลที่มีลักษณะหน้าตา และทรงผมคล้ายชาวจีน ส่วนล�ำตัวของรูปบุคคลม ลักษณะแตกต่างไปจากพระวรกายของเทวดาหรือ บุคคลชั น ้ สูง เนื อ ่ งจากว่าไม่ม ก ี ารใช้เครื อ ่ งประดับใน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 37