เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น ฯลฯ เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตราฯ | Page 32
แล้วก็พบว่า น่าจะแสดงถึงเหตุการณ์ตอนใดตอน
หนึ่งในพุทธประวัติอันเป็นเรื่องราวชาดก โดยม
ภาพพระพุทธรูปนั่งตรงกลางที่เหลือแต่เพียงร่อง
รอยประภามณฑลที่สันนิษฐานได้ว่าเป็นพระพุทธ
รูปนั่ง ส่วนพระพุทธรูปยืนนั้นอยู่เบื้องขวาของพระ
ประธาน และภาพบุคคลที่จูงมือหรือจับมือกันอยู
ทางเบื้องซ้าย บุคคลที่สูงกว่านุ่งผ้าที่ทาสีแดงชาด
และสียังคงสดใส มีสายคล้องไหล่เฉวียงบ่าที่ ไหล
ซ้าย มีป ม ่ ุ ปมที ห ่ ว ั ไหล่ช ด ั เจน ซึ ง ่ อาจจะเป็นสายธุร ำ �
หรือสายยัชโญปวีตที แ ่ สดงความเป็นพราหมณ์ และ
ใส่ต่างหูยาว ผมมุ่นมวยไว้ด้านบน ส่วนบุคคลที่ถูก
จูงมือนั้นส่วนล�ำตัวสูญหายไปเสียหมดแล้ว
ภาพระหว่างกลางเหลือเพียงประภามณฑล ร่องรอยมีการ
กะเทาะออกชัดเจน ด้วยต�ำแหน่งและขนาดตลอดจน
รูปลักษณ์ของประภามณฑลสันนิษฐานได้ว่าน่าจะเป็น
พระพุทธรูปนั่งแบบขัดสมาธ
ความส�ำคัญในข้อสันนิษฐานดังกล่าวนี้ เพราะแม้จะ
มีอิทธิพลพุทธศาสนาแบบมหายานในชุมชนโบราณ
ย่านเมืองคูบัวที่สัมพันธ์กับภาพปูนปั้นในถ�้ำนี้อย่าง
แน่นอน โดยพิจารณาจากรูปแบบโครงร่างในการ
ปั้นรูปลักษณ์พระวรกายที่มีความผอมบางและสูง
ชะลูดคล้ายคลึงกับงานปูนปั้นพระโพธิสัตว์ประดับ
ฐานเจดีย์จากโบราณสถานที่คูบัวเป็นส�ำคัญ แต่ก
ยังไม่เคยเห็นหรือจะมีข อ ้ มูลอื น ่ ใดที แ ่ สดงถึงอิทธิพล
ของพระโพธิสัตว์ซึ่งเป็นที่นิยมจากจีนแผ่นดินใหญ
จะเข้ามามีบทบาทต่อพุทธศาสนาในแถบนี จ ้ นถึงต้อง
ปั้นพระโพธิสัตว์พระองค์นั้นไว้ในถ�้ำเขาน้อยแห่งน
อีกทั้งเมื่อพิจารณาองค์ประกอบของภาพ
32
ภาพบุคคลสองคน คนหนึ่งด้านซ้ายรูปร่างเตี้ยกว่าจน
สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเด็กและอีกบุคคลด้านขวาสูงกว่าและ
น่าจะเป็นเพศชาย แต่ส่วนล�ำตัวจนถึงเท้าหักหายไป บุคคล
ทั้งสองจูงมือกัน (คงกลายเป็นชื่อถ�้ำที่เรียกกันอย่างล�ำลอง
ว่า ยายจูงหลาน)
เที่ยวตามตำ�นาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตรา-เจ้าลาย-ตาม่องไล่-เจ้ากรุงจีน