สำรวจอโยธยากับอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม สำรวจอโยธยากับอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม | Seite 18
เศียรพระพุทธรูปส�ำริดแบบอู่ทอง พบที่วัดธรรมิกราช
ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาต
เจ้าสามพระยา
มารวมกัน ค�ำว่า “หลอฮกก๊ก” นั้นหมายถึง “ละโว้”
ในขณะที่ “เสียมก๊ก” หมายถึง “สุพรรณภูมิ” เป็น
สิ ง ่ ที ส ่ อดคล้องกันกับการที พ ่ ระเจ้าอู ท ่ องหรือสมเด็จ
พระรามาธิบดีที่ ๑ ผู้สร้างพระนครศรีอยุธยาทรง
เป็นพระราชบุตรเขยของกษัตริย์สุพรรณบุรีหรือ
สุพรรณภูม
แต่การที่จดหมายเหตุจีนสมัยราชวงศ์หมิง
กล่าวถึงหลอฮกก๊กคือละโว้ ไม่น่าที่จะหมายถึง
เมืองละโว้แต่คงหมายถึงเมืองอโยธยานั่นเอง ซึ่ง
ก็ ดู ส อดคล้ อ งกั น กั บ นครรั ฐ ส� ำ คั ญ คื อ ทั้ ง อยุ ธ ยา
และสุ พ รรณบุ รี ต่ า งก็ มี เ มื อ งคู ่ เ หมื อ นกั น คื อ
“สุพรรณบุร ม ี เ ี มืองแพรกศรีราชา” ในขณะที่ “ละโว
มีอโยธยา”
“รัฐสุพรรณภูมิ” หรือ “สุพรรณบุรี” ม
กษัตริย์ปกครองในพระนามว่า “บรมราชา” และ
18
สำ�รวจอโยธยากับอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม
เมื อ งลู ก หลวงคื อ “แพรกศรี ร าชา” มี เ จ้ า นาย
ปกครองในพระนครว่า “อินทราชา” หรือ “นคร
อินทร์” ส่วนอยุธยามี “พระรามาธิบดี” ครองเมือง
หลวงและมี “พระราเมศวร” ครอง “เมืองละโว้”
เป็นเมืองลูกหลวง
จากจดหมายเหตุจีนแสดงให้เห็นว่าในสมัย
ราชวงศ์หมิงที่ตรงกับสมัยอยุธยาตอนต้นนั้น ฐานะ
ความเป็นเมืองหลวงของละโว้ได้เปลี ย ่ นมาเป็นเมือง
ลูกหลวง ในขณะที่เมืองอโยธยาเปลี่ยนจากเมือง
ลูกหลวงมาเป็นเมืองหลวงของรัฐแทน
การเปลี ย ่ นแปลงครั ง ้ นี ต ้ รงกับการย้ายเมือง
อโยธยาทางฟากแม่น�้ำป่าสักทางตะวันออก มา
สร้างใหม่บนฝั่งน�้ำลพบุรีและแม่น�้ำเจ้าพระยาแทน
คือ เมืองพระนครศรีอยุธยา
ปัจจุบันนักวิชาการและคนเป็นจ�ำนวนมาก
โดยเฉพาะผู้คนในเมืองพระนครศรีอยุธยาเชื่อว่า
เมืองอโยธยามีจริงและเป็นเมืองเก่ามาก่อนการ
สร้างพระนครศรีอยุธยา แต่ก็ยังมีความคลุมเครือ
และไม่ชัดเจนเท่าเมืองสุพรรณภูมิที่มีร่องรอยของ
ผังเมือง เรื่องคูน�้ำและคันดินชัดเจน
ทั้งนี้เพราะบริเวณเมืองอโยธยาเก่าซึ่งอยู
ทางตะวันออกของเมืองพระนครศรีอยุธยา เป็น
บริ เ วณที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงสถานที่ แ ละสภาพ
แวดล้อมเป็นชุมชนใหม่เก่าซับซ้อนหลายสมัย แต
หลังจากที่อาจารย์ศรีศักรท�ำการศึกษา ส�ำรวจ
ลักษณะภูมิวัฒนธรรมของการสร้างบ้านแปงเมือง
ใน ๓ ปีที่ผ่านมา ก็ได้พบเห็นร่องรอยและเงื่อนง�ำ
ที่ซ่อนเร้นหลายอย่างที่พอจะสร้างเป็นผังเมืองและ
บริเวณที่ตั้งของเมืองอโยธยาได้ค่อนข้างเป็นรูป
ธรรม ดังน