สำรวจอโยธยากับอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม สำรวจอโยธยากับอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม | Page 11
เช่น “กัมพูชาเทศะ” ที่มีมาก่อนแล้ว ซึ่ง
หมายถึ ง เขตแดนที่ ก ว้ า งใหญ่ ข องอาณาจั ก รใน
กัมพูชาที เ ่ ข้ามาถึง “เมืองเสมา” ในแคว้นศรีจนาศะ
เป็น “ดินแดนนอกเขตกัมพูชาเทศะ” ซึ่งรวมทั้งลุ่ม
น� ำ ้ มูลชีและบ้านเมืองในภาคกลางของสยามประเทศ
ก็อยู่นอกอ�ำนาจทางการเมืองของกัมพูชาเทศะเช่น
กัน
ตั ง ้ แต่พ ท ุ ธศตวรรษที่ ๑๗ เป็นต้นมา ดินแดน
ในประเทศไทย ถูกเรียกว่า “สยามเทศะ” หรือ
“สยามประเทศ” ดังมีการกล่าวถึงในจดหมายเหต
จีนสมัยราชวงศ์ซุ้ง หยวน และหมิง ตามล�ำดับ รวม
ทั ง ้ ในจารึกนครวัดในสมัยของพระเจ้าสุร ย ิ วรมันที่ ๒
ที่กล่าวถึงกองทหารที่ไปจากเสียมและละโว้ในพุทธ
ศตวรรษที่ ๑๘
เจดีย์ทรงแปดเหลี่ยม องค์ระฆังฐานสูงที่วัดแก้ว
เมืองสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท
กลุ่มคนผู้เข้ามาใหม่และ “สยามเทศะ”
มีหลักฐานหลายอย่างทั้งในทางโบราณคด
และเอกสารทางประวั ติ ศ าสตร์ ที่ ท� ำ ให้ เ ห็ น การ
เคลื่อนย้ายของผู้คนหลายชาติพันธุ์ ศาสนา และ
วัฒนธรรม เข้ามาตั้งถิ่นฐานตามเมืองใหม่ที่เกิดขึ้น
และมีการผสมผสานทางสังคมวัฒนธรรมกับผู ค ้ นใน
บ้านเมืองเก่าที่มีมาก่อนแล้ว
กลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่ที่นับได้ว่าเป็นชนชาติท
ส�ำคัญก็คือกลุ่ม “ไท-ลาว” ใช้ภาษาไทยเป็นภาษา
ส�ำคัญในการสื อ ่ สารกันทางสังคมและเศรษฐกิจแทน
ภาษาเดิมใน “ตระกูลภาษามอญ-เขมร” ที่มีมาแต
เดิม เกิดบ้านเมืองใหม่ๆ ที ใ ่ ช้ภาษาไทยเป็นสื อ ่ กลาง
แทนภาษาเก่า เกิดพื น ้ ที ท ่ างวัฒนธรรมและการเมือง
ใหม่ในรูปของ “เทศะ” หรือ “ประเทศ”
เจดีย์ทรงกลีบมะเฟืองที่วัดมหาธาต
เมืองละโว้หรือลพบุร
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ
11