สารัตถะวิจัย ปี3 E-Book สารัตถะ ปี3 | Page 74

สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่ : นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน
73
การวิจัย ก่อนด�ำเนินการวิจัย หลังด�ำเนินการวิจัย
3 . กลุ่มอาชีพมีส่วนร่วมระดม ความคิดให้ได้มาซึ่งปัญหาของ การผลิตและแก้ไขปัญหาด้าน การผลิต
ชุมชนมีส่วนร่วมใน การออกแบบเครื่อง เพื่อแก้ไขปัญหาใน การผลิต
ชุมชนมีส่วนร่วมระดมความคิด เห็นให้ได้ประเด็นของเครื่องที่ ใช้ในการแก้ไขปัญหามากกว่า ร้อยละ 80
4 . ทดสอบประสิทธิภาพของ เครื่อง
- -
การบูรณาการกับพันธกิจมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
1 . ด้านการเรียนการสอน ใช้ประกอบการเรียนการสอนในรายวิชา การวางแผน และควบคุมการผลิต 501441 ( Production Planning and Control ) และวิชา กรรมวิธี การผลิต 533621 ( Manufacturing Processes ) ของหลักสูตรสาขาวิชาวิศวกรรมการ จัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยนักศึกษาได้มีโอกาสลงพื้นที่ ร่วมประชุมกลุ่มย่อย ศึกษาสภาพปัญหาของกลุ่ม ศึกษา กระบวนการผลิตกล้วยเบรคแตกของกลุ ่มแม่บ้านเกษตรกรเทวาสุขสันต์ ซึ่งเป็นธุรกิจขนาด ย่อม ( SMEs ) ตั้งอยู่ ต�ำบลหนองกราด อ�ำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ร่วมกับ อาจารย์จึงเกิดโจทย์งานวิจัยดังกล่าว
2 . ด้านบริการวิชาการ ด้านบริการวิชาการจาก การถ่ายทอดเทคโนโลยี การปรับปรุงกระบวนการผลิตกล้วยเบรคแตกของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรเทวาสุขสันต์ เพื่อลดของเสียจากกระบวนการฝานกล้วย และให้สามารถผลิตได้ทันกับความต้องการ โดยใช้เทคโนโลยีเข้าไปช่วยในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ประกอบกับการให้ความรู้ส�ำหรับ การเลือกใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์การผลิต การจัดเตรียมสถานที่ เพื่อให้ถูกหลักด้าน สาธารณูปโภค รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในส่วนการขึ้นรูปที่สามารถท�ำได้ง่ายสะดวก และรวดเร็ว ช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านก�ำลังการผลิต
3 . ด้านท�ำนุบ�ำรุง ด้านท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม เป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญา ท้องถิ่นด้านอาหารโคราชให้คงอยู่สืบต่อไป เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของกล้วย เบรคแตก ใช้ส�ำหรับของฝากได้เป็นอย่างดี
Research and Development Institute Nakhon Ratchasima Rajabhat University