สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่: นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน
73
การวิจัย ก่อนด�ำเนินการวิจัย หลังด�ำเนินการวิจัย
3. กลุ่มอาชีพมีส่วนร่วมระดม ความคิดให้ได้มาซึ่งปัญหาของ การผลิตและแก้ไขปัญหาด้าน การผลิต
ชุมชนมีส่วนร่วมใน การออกแบบเครื่อง เพื่อแก้ไขปัญหาใน การผลิต
ชุมชนมีส่วนร่วมระดมความคิด เห็นให้ได้ประเด็นของเครื่องที่ ใช้ในการแก้ไขปัญหามากกว่า ร้อยละ 80
4. ทดสอบประสิทธิภาพของ เครื่อง
--
การบูรณาการกับพันธกิจมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
1. ด้านการเรียนการสอน ใช้ประกอบการเรียนการสอนในรายวิชา การวางแผน และควบคุมการผลิต 501441( Production Planning and Control) และวิชา กรรมวิธี การผลิต 533621( Manufacturing Processes) ของหลักสูตรสาขาวิชาวิศวกรรมการ จัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยนักศึกษาได้มีโอกาสลงพื้นที่ ร่วมประชุมกลุ่มย่อย ศึกษาสภาพปัญหาของกลุ่ม ศึกษา กระบวนการผลิตกล้วยเบรคแตกของกลุ ่มแม่บ้านเกษตรกรเทวาสุขสันต์ ซึ่งเป็นธุรกิจขนาด ย่อม( SMEs) ตั้งอยู่ ต�ำบลหนองกราด อ�ำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ร่วมกับ อาจารย์จึงเกิดโจทย์งานวิจัยดังกล่าว
2. ด้านบริการวิชาการ ด้านบริการวิชาการจาก การถ่ายทอดเทคโนโลยี การปรับปรุงกระบวนการผลิตกล้วยเบรคแตกของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรเทวาสุขสันต์ เพื่อลดของเสียจากกระบวนการฝานกล้วย และให้สามารถผลิตได้ทันกับความต้องการ โดยใช้เทคโนโลยีเข้าไปช่วยในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ประกอบกับการให้ความรู้ส�ำหรับ การเลือกใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์การผลิต การจัดเตรียมสถานที่ เพื่อให้ถูกหลักด้าน สาธารณูปโภค รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในส่วนการขึ้นรูปที่สามารถท�ำได้ง่ายสะดวก และรวดเร็ว ช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านก�ำลังการผลิต
3. ด้านท�ำนุบ�ำรุง ด้านท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม เป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญา ท้องถิ่นด้านอาหารโคราชให้คงอยู่สืบต่อไป เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของกล้วย เบรคแตก ใช้ส�ำหรับของฝากได้เป็นอย่างดี
Research and Development Institute Nakhon Ratchasima Rajabhat University