การท่องเที่ยวทางน�้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย
ของเรือและคนขับเรือรวมทั้งมัคคุเทศก์ที่บางส่วนยังขาด มาตรฐานตามที่ก�ำหนดไว้ของกรมเจ้าท่าและกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวตามแม่น�้ำ ล�ำคลอง
• ส่งเสริมให้มีการน�ำระบบมาตรฐานและสัญลักษณ์มาใช้ในการจัด ระเบียบท่าเรือ เรือ คนขับเรือ และมัคคุเทศก์ เพื่อแสดงถึง คุณภาพการให้บริการท่องเที่ยวตามแม่น�้ำล�ำคลอง ซึ่งต้อง ด�ำเนินการควบคู่กับ การประชาสัมพันธ์ตราสัญลักษณ์ให้เป็นที่ รู้จักและยอมรับของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติ
• ผลักดันมาตรการเพื่อป้องกันและลดอุบัติเหตุทางน�้ำของ กรมเจ้าท่าไปสู่การปฏิบัติ เพื่อสร้างความมั่นใจทางด้าน ความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะการท่องเที่ยว ทางล�ำน�้ำในภูมิภาค ที่มีโอกาสขยายตัวรองรับกับการเป็น ศูนย์กลางการท่องเที่ยวอาเซียนของไทย
• ปรับปรุงคุณภาพน�้ำในแม่น�้ำล�ำคลองให้สะอาด โดยให้ชุมชนและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทในการดูแลและ รณรงค์ร่วมกับภาครัฐ
• การพิจารณาความเป็นไปได้ในการปรับระบบการเปิด-ปิดประตู ระบายน�้ำในคลองต่างๆ ให้สอดคล้องกับปริมาณเรือของนักท่องเที่ยว
• จัดให้มีการศึกษาทบทวนศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวและ เส้นทางท่องเที่ยวตามแม่น�้ำล�ำคลองที่มีอยู่เดิมและที่สมควรจะ
พัฒนาขึ้นใหม่เพื่อน�ำมาสู่การปรับปรุงและพัฒนาให้สอดคล้อง กับความต้องการของนักท่องเที่ยว และก�ำหนดจุดส�ำหรับการ สร้างท่าเรือสาธารณะเพิ่มเติมในแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ
แม้การท่องเที่ยวทางน�้ำจะเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับการท่องเที่ยวของ ประเทศไทยมาช้านาน แต่ที่ผ่านมายังไม่ได้มีการก�ำหนดแนวทาง ที่ชัดเจนในการพัฒนาการท่องเที่ยวทางน�้ำทั้งระบบ และขาด การวางแผนและพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง รวมทั้งขาด การบูรณาการ ท�ำให้การท่องเที่ยวทางน�้ำขาดความโดดเด่น และไม่สามารถสร้างรายได้แก่การท่องเที่ยวของไทยได้เท่าที่ควร โดยเฉพาะการท่องเที่ยวเรือส�ำราญและการท่องเที่ยวด้วย เรือยอร์ช ส่วนใหญ่ด�ำเนินการโดยภาคเอกชน ในขณะที่การท่องเที่ยว ชายฝั่งทะเล และการท่องเที่ยวตามแม่น�้ำล�ำคลอง ยังต้องการ การสนับสนุนจากภาครัฐในการพัฒนา ส่งเสริม ผลักดัน ดังนั้น การจัดท�ำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวทางน�้ำของประเทศ จึงเป็นสิ่ง ส�ำคัญในการเป็นกรอบในการขับเคลื่อนการพัฒนาเป็นไปอย่างเป็น ระบบและครอบคลุมในทุกด้านเกิดการเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว สาขาอื่นๆ และเชื่อมโยงกับ ASEAN รวมทั้งการบูรณาการ การท�ำงานของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว
61