การท่องเที่ยวทางน�้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย
กระบี่ ยังไม่ครอบคลุมเมืองท่องเที่ยวริมทะเลอื่นๆ เช่น พังงา ตรัง และสตูล เป็นต้น เช่นเดียวกับทางฝั่งทะเลอ่าวไทย ซึ่งเป็นผลมา จากความเหมาะสมของร่องน�้ำและขนาดของพื้นที่หลังท่าที่ต้องการ พื้นที่ในการท�ำกิจกรรมต่อเนื่อง
• ข้อจ�ำกัดของกฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริม ให้ประกอบธุรกิจเช่าเรือในไทย เนื่องจากข้อจ�ำกัดในการอนุญาต ให้เจ้าของ Superyacht ต่างชาติที่มาจอดเทียบท่าในประเทศไทย สามารถประกอบธุรกิจให้เช่าเรือของตนได้ และข้อจ�ำกัดของระยะ เวลาที่อนุญาตให้เรือต่างชาติที่ผ่านเข้ามาในน่านน�้ำไทยและอยู่ใน ไทยได้ถึง 6 เดือนในขณะที่ระยะเวลาวีซ่าที่ให้กับนักท่องเที่ยวที่ เดินทางมากับเรือสามารถให้ได้ 30 วันเท่านั้น
แนวทางการเตรียมความพร้อม: รองรับการ พัฒนาการท่องเที่ยวด้วยเรือยอร์ช
• ส่งเสริมการพัฒนามารีน่าในเมืองท่องเที่ยวชายทะเลของไทย ที่มีศักยภาพ ซึ่งกระทรวงคมนาคมเคยศึกษาและเสนอไว้เมื่อ ปี 2547 ซึ่งมีจ�ำนวนทั้งสิ้น 33 แห่ง สามารถจอดเรือได้เพิ่มขึ้น ประมาณ 1,500 ล�ำ
• ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อเอื้อให้มีการเติบโต ของการท่องเที่ยวโดยเรือยอร์ช อาทิ การอนุญาตให้เจ้าของ Superyacht ที่เข้ามาท่องเที่ยวและพ�ำนักอยู่ในประเทศไทย
สามารถประกอบการให้เช่าเรือของตนได้ไม่เกิน 1 ปี ตามหลัก เกณฑ์ในกฎหมายเรือไทย การสนับสนุนของภาครัฐในการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น เขื่อนกันทรายกันคลื่น การขุดลอก ร่องน�้ำและการติดตั้งเครื่องหมายเดินเรือ เป็นต้น
• เพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ SMEs ในอุตสาหกรรม อู ่ต่อเรือยอร์ช และอู ่ซ่อมเรือยอร์ชในการพัฒนาด้านการบริหาร จัดการ ความรู้ทางเทคนิค และด้านการลงทุน
• ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวด้วยเรือยอร์ชที่ต้องด�ำเนินการทั้งใน มิติของการพัฒนาการท่องเที่ยวควบคู่กับการพัฒนา อุตสาหกรรมอู่ต่อเรือยอร์ช และอู่ซ่อมเรือยอร์ช
Coastal Tourism
ท่าเรือกระบี่ ริเวอร์มาริน่า 42 ลำ
รอยัล ภูเก็ต มารีน่า 76 ลำ 35 ลำ
ท่าเรือกระบี่ โบ๊ทลากูน 80 ลำ 100 ลำ
ยอร์ช เฮเว่น มารีน่า( ภูเก็ต) 300 ลำ โบ๊ทลากูน มารีน่า ภูเก็ต
173 ลำ 135 ลำ
อ่าวปอ แกรนด์มารีน่า( ภูเก็ต) 300 ลำ 100 ลำ
จำนวน " มารีน่า " ฝั่งทะเลอันดามัน
จำนวนเรือยอร์ชที่สามารถจอดในน้ำ จำนวนเรือยอร์ชที่สามารถจอดบนบก
จำนวน " มารีน่า " ฝั่งทะเลอ่าวไทย
สยามรอยัลวิล เกาะช้าง( ตราด) 381 ลำ
เพาเวอร์โบ๊ต ปราณบุรี( ประจวบคีรีขันธ์)
33 ลำ
ภัทรมารีน่า แอนด์ยอร์ชคลับ( ประจวบคีรีขันธ์)
22 ลำ( เฟส 1)
โอเชี่ยนมารีน่า ยอร์ชคลับ( ชลบุรี) 22 ลำ( เฟส 1)
เกาะช้าง มารีน่าแอนรีสอร์ท( ตราด) 14 ลำ
การท่องเที่ยวชายฝั่งทะเล
การท่องเที่ยวชายฝั่งทะเล
กว่าร้อยละ 50 ของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมายังประเทศไทยมี วัตถุประสงค์ในการเดินทางเพื่อมาชมความงามทางทะเล โดย Sea Sand Sun เป็นจุดขายหลักของการท่องเที่ยวของไทยมาทุกยุค ทุกสมัย ไทยมีจังหวัดติดทะเลถึง 22 จังหวัดทั้งฝั ่งทะเลอันดามันและ ฝั่งทะเลอ่าวไทย โดยจังหวัดชายทะเลที่นักท่องเที่ยวนิยมเดินทาง ท่องเที่ยวมากที่สุด คือ ภูเก็ต รองลงมา คือ ชลบุรี( พัทยา) สุราษฎร์ธานี( เกาะสมุย) กระบี่ พังงา และสงขลา รูปแบบการ ท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ คือ การเดินทางทางเรือไปยังเกาะต่างๆ จนมีเส้นทางท่องเที่ยวทาง เรือตลอดแนวชายฝั ่งทั้งในอ่าวไทยและอันดามันในรูปแบบของการ เดินทางเป็นเส้นทางระหว่างเกาะในรูปแบบ Island Hopping ซึ่งมี จุดประสงค์หลักเพื่อพักผ่อนตามชายหาด ชมธรรมชาติชายฝั ่งทะเล ที่สวยงาม ด�ำน�้ำชมปะการัง ชมป่าชายเลน หรือกิจกรรมยามค�่ำคืน เช่น การออกไปตกหมึก เป็นต้น
54 รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว