รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว ฉบับที่ 2 ASEAN CONNECT | Page 50
การท่องเที่ยวทางน�้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย
ชมัยพร วิเศษมงคล
การท่องเที่ยวทางน�้ำ
กับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย
ประเทศไทยได้ รั บ การยอมรั บ ว่ า เป็ น แหล่ ง
ท่องเทีย่ วทางทะเลทีม่ ชี อื่ เสียงของชาวต่างชาติ
นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ม าประเทศไทยกว่ า ครึ่ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการ
ท่องเทีย่ วทางทะเล จากความสวยงามของชายหาดและเกาะทีม่ อี ยู่
จ�ำนวนมาก และมีกิจกรรมที่หลากหลาย ท�ำให้จังหวัดในภาคใต้
และภาคตะวันออกของประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล
ทีต่ ดิ อันดับโลก ดังนัน้ การท่องเทีย่ วทางน�ำ้ จึงมีบทบาทส�ำคัญต่อไทย
โดยเฉพาะการท่องเที่ยวทางทะเล ซึ่งประกอบด้วย การท่องเที่ยว
โดยเรือส�ำราญ การท่องเที่ยวโดยเรือยอร์ช และการท่องเที่ยว
ชายฝั่ง ขณะเดียวกันการท่องเที่ยวในแม่นำ�้ ล�ำคลองของไทยก็เป็น
รูปแบบหนึง่ ทีน่ กั ท่องเทีย่ วนิยม ซึง่ เป็นผลจากวัฒนธรรมลุม่ น�ำ้ ของ
ไทยจนได้ชื่อว่าเป็นเวนิสตะวันออก
จีน
เวียดนาม
พมา
อาวหะล็อง
ลาว
แมน้ำกก
แมน้ำสาละวิน
ยางกุง
ไทย
แมน้ำโขง
ดานัง
แมน้ำสองสี
แมน้ำเจาพระยา
กัมพูชา
ชลบุรี
แหลมฉบัง
พังงา
เกาะชาง
เกาะกูด
ประจวบคีรีขันธ
สีหนุวิลล
นครโฮจิมินห
สุราษฎรธานี
สงขลา
ภูเก็ต
กระบี่
จอรจทาวน
ลังกาวี
มาเลเซีย
ทองเที่ยว
ดวยเรือสำราญ
ทองเที่ยว
ดวยเรือยอรช
ทองเที่ยว
ชายฝงทะเล
ทองเที่ยว
แมน้ำลำคลอง
พูเลา ปงกอร
พอรตกลัง
มะละกา
สิงคโปร
48
รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว