รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว ฉบับที่ 2 ASEAN CONNECT | Page 36

ASEAN Connect • การอ�ำนวยความสะดวกในการขนส่ง ที่ให้ความส�ำคัญกับ การขนส่งผูโ้ ดยสารข้ามชายแดนและการขนส่งต่อเนือ่ งหลายรูปแบบ ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีด่านชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน ทัง้ หมด 47 แห่ง มี 13 แห่งทีม่ คี วามเชือ่ มโยงกับทางหลวงอาเซียน ที่สามารถยกระดับเป็นแหล่งกระจายนักท่องเที่ยว และที่สามารถ รองรับการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดนมีเพียง 9 ด่าน ได้แก่ ด่านเชียงของ และด่านแม่สาย จังหวัดเชียงราย ด่านแม่สอด จังหวัดตาก ด่านหนองคาย จังหวัดหนองคาย ด่านมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร ด่านนครพนม จังหวัดนครพนม ด่านอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ด่านสะเดา จังหวัดสงขลา และด่านปาดังเบซาร์ จังหวัดสงขลา และ ยังเป็นเส้นทางส�ำหรับนักท่องเที่ยวเดินทางระหว่างกันทั้งรถยนต์ ส่วนบุคคลและรถบัสส�ำหรับท่องเที่ยว กระทรวงคมนาคมจึงได้ จัดท�ำความตกลงการขนส่งคนโดยสารระหว่างประเทศ การพัฒนา เส้นทางใหม่ๆ ในการขนส่ง เสริมสร้างขีดความสามารถของ ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ตลอดจนปรับปรุง กฎระเบียบ และกฎหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งข้าม พรมแดน การพัฒนาศูนย์เปลีย่ นถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ และทีเ่ ชียงราย เป็นต้น เพื่อนบ้านในอาเซียนรองรับกับการพัฒนาความเชื่อมโยงทาง คมนาคมขนส่งของอาเซียน ซึ่งมีทั้งการสร้างพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ ที่เป็นบริเวณชายแดน การสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานในรูปแบบ ต่างๆ โดยในปี 2558 ประเทศไทยได้ประกาศเขตเศรษฐกิจพิเศษ รวม 10 จังหวัด โดยเขตเศรษฐกิจพิเศษทีป่ ระกาศในระยะแรก 5 จังหวัด (6 พื้นที่ชายแดน) ได้แก่ จังหวัดตาก ที่สามารถเชื่อมโยงไปยัง เมืองย่างกุ้งของเมียนมาและเชื่อมต่อไปยังอินเดียและจีนตอนใต้ จังหวัดมุกดาหาร ทีส่ ามารถเชือ่ มโยงประเทศสปป.ลาวและเวียดนาม ผ่านเส้นทาง R9 เข้าสูท่ า่ เรือดานัง และเชือ่ มต่อไปยังประเทศจีน ตอนใต้และประเทศในแถบตะวันออกไกล จังหวัดสระแก้ว ทีส่ ามารถ เชือ่ มโยงกับด่านศุลกากรแห่งใหม่ทางบ้านสติงบท ประเทศกัมพูชา จังหวัดตราด ทีส่ ามารถเชือ่ มโยงกับท่าเรือสีหนุวลิ ล์ เกาะกง ของ กัมพูชา และจังหวัดสงขลา ทีส่ ามารถเชือ่ มโยงกับท่าเรือปีนงั และ ท่าเรือกลางของมาเลเซีย รวมทัง้ ถนนและระบบรางเชือ่ มโยง และ ระยะที่ 2 จ�ำนวน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดหนองคาย ทีม่ จี ดุ เชือ่ มโยง กับนครเวียงจันทร์ประเทศ สปป.ลาว จังหวัดนราธิวาส เชื่อมโยง กั บ ประเทศมาเลเซี ย และสามารถเชื่ อ มต่ อ ไปยั ง สิ ง คโปร์ ไ ด้ จั ง หวั ด เชี ย งราย สามารถเชื่ อ มโยงกั บ ประเทศเมี ย นมาและ ประเทศสปป.ลาว จังหวัดนครพนม ทีเ่ ชือ่ มโยงกับประเทศสปป.ลาว นอกจากนัน้ รัฐบาลยังได้พฒ ั นา “เขตเศรษฐกิจพิเศษ” ขึน้ เพือ่ สร้างฐาน และเชื่อมต่อไปยังประเทศเวียดนามตอนเหนือ และจีนตอนใต้ การผลิตเชื่อมโยงกับอาเซียนทางด้านการค้าในอุตสาหกรรมต่างๆ จังหวัดกาญจนบุรี เชือ่ มต่อกับจังหวัดทวาย ประเทศเมียนมา และเป็นการพัฒนาเมืองชายแดนที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศ ปัจจุบนั การท่องเทีย่ วถือเป็นอุตสาหกรรมทีป่ ระเทศต่างๆ ในอาเซียน ต่างให้ความสนใจ และใช้เป็นเครือ่ งมือหลักในการขับเคลือ่ นและสร้าง ความเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยตลอด 5 ปีทผี่ า่ นมามี นักท่องเทีย่ วชาวต่างชาติมาเยือนภูมภิ าคนีเ้ พิม่ ขึน้ จาก 81 ล้านคน ในปี 2554 เป็น 105 ล้านคน ในปี 2557 หรือขยายตัวเฉลี่ย ร้อยละ 10.62 ต่อปี ซึง่ ในจ�ำนวนนีเ้ ป็นนักท่องเทีย่ วในกลุม่ อาเซียน (Intra-ASEAN) หรือการท่องเทีย่ วระหว่างประเทศอาเซียนด้วยกันเอง ประมาณร้อยละ 46 แสดงให้เห็นว่า โดยภาพรวมนักท่องเทีย่ วของ ประเทศในกลุม่ อาเซียนส่วนใหญ่มาจากประเทศนอกอาเซียน ยกเว้น ประเทศมาเลเซียทีน่ กั ท่องเทีย่ วหลักมาจากประเทศในกลุม่ อาเซียน เนื่องจากประเทศมาเลเซียได้ประโยชน์จากการมีพรมแดนติดต่อ กับประเทศสิงคโปร์ รวมถึงความสัมพันธ์ทางศาสนาและเครือญาติ จากนักท่องเที่ยวมุสลิมในประเทศอินโดนีเซีย ขณะที่ประเทศไทย มีจ�ำนวนนักท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียนสูงเป็นอันดับที่ 2 แต่น้อยกว่า มาเลเซียกว่า 3 เท่า ตามด้วยประเทศสิงคโปร์ อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลปิ ปินส์ กัมพูชา สปป.ลาว บรูไน และเมียนมา ตามล�ำดับ ภาพรวมของนักท่องเทีย่ วในอาเซียนทีเ่ ดินทางท่องเทีย่ วในอาเซียน เดินทางท่องเที่ยวระหว่างกันเพิ่มขึ้นจาก 38 ล้านคนในปี 2554 เป็น 49 ล้านคนในปี 2557 หรือขยายตัวเฉลีย่ ร้อยละ 10.12 ต่อปี 34 รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว