ASEAN Connect
การพัฒนาเครือข่ายเส้นทางทางหลวงอาเซียน โดยการยกระดับ ถนนที่ยังไม่ได้มาตรฐานระดับ 1 จัดท�ำป้ายบอกทาง สร้างสะพาน เชื่อมต่อระหว่างประเทศ รวมทั้งขยายเส้นทางไปสู่จีนและอินเดีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรและนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพสูง
การพัฒนาโครงการเชื่อมโยงเส้นทางรถไฟสายคุนหมิง-สิงคโปร์ ที่เป็นหัวใจส�ำคัญของการกระจายนักท่องเที่ยวจากจีนลงมาในภูมิภาค โดยเฉพาะการสร้างเส้นทางรถไฟสองสายคือ สายตะวันออก ผ่านไทย กัมพูชา และเวียดนาม และมีทางย่อยแยกเชื่อมระหว่างสปป. ลาว และเวียดนาม สายที่สองคือ สายตะวันตก ผ่านไทยและเมียนมา แต่จะให้ความส�ำคัญกับสายตะวันออก ที่ประเทศไทยจุดที่อาเซียน ต้องการให้เพิ่มเติมคือ ระหว่างอรัญประเทศและคลองลึก ระยะทาง 6 กิโลเมตร ภายในปี 2557 และช่วงผ่านด่านเจดีย์สามองค์ถึง เมียนมา ระยะทาง 153 กิโลเมตรภายในปี 2563
การสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงล�ำน�้ำในประเทศอย่างเป็นองค์รวมและมี ประสิทธิภาพ มีการก�ำหนดเส้นทางการเดินเรือท่องเที่ยวในลุ ่มน�้ำโขง โดยเริ่มต้นจากจีนล่องมาจนถึงเชียงแสนผ่านสิบสองปันนา
การเสริมสร้างระบบการเดินเรือทะเลให้มีประสิทธิภาพ และแข่งขัน ได้อย่างเป็นองค์รวม ที่ให้ความส�ำคัญกับการเชื่อมโยงเส้นทางการ เดินเรือทะเลระหว่างประเทศในอาเซียน โดยการจัดท�ำระบบทางหลวง การเดินเรือทะเล( RoRo) ของอาเซียน การส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วย เรือโดยสารขนาดใหญ่( Cruise) โดยการปรับปรุงสมรรถนะท่าเรือ จ�ำนวน 47 ท่า จากผลการศึกษาของอาเซียนในปี 2558 การจัดท�ำ เส้นทางการเดินเรือที่มีประสิทธิภาพ( รวมทั้ง RoRo) เชื่อมโยง แผ่นดินใหญ่และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งเชื่อมโยงอนุภูมิภาค ต่างๆ ที่มีการริเริ่มขึ้น อาทิ BIMP-EAGA และ IMT-GT ตลอดจน เส้นทางระหว่างประเทศอย่างเช่น Satun / Trang-Penang-Belawan หรือเส้นทาง Malacca-Dumai เส้นทาง Davao-Bitung และเส้นทาง Zamboanga-Sandakan เป็นต้น
รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว
31