รายงาน GG 62 Full Report สำหรับผลิต (1) | Page 34

- หน้าที่ ๙ - นโยบาย ตลอดจนสถาบันและองคOกรที่ประชาชนและกลุ/มทางการเมืองนำเสนอประเด็นป"ญหา ความสนใจ และร/วมกันตรวจสอบการใช6อำนาจรัฐ รวมทั้งการเจรจาตกลงเพื่อลดป"ญหาความขัดแย6ง” (UNDP, ๑๙๙๗: หน6าที่ ๒-๓) ๒) องคOกรเพื่อความร/วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Co- operation and Development: OECD) กล/าวว/า ธรรมาภิบาล คือ “การใช6อำนาจทางการเมืองเพื่อบริหาร จัดการทรัพยากรในการตอบโจทยOการพัฒนาทางด6านเศรษฐกิจและสังคม” (OECD, ๑๙๙๕: หน6าที่ ๑๔) ๓) นิยามของธนาคารโลก (๒๐๐๗) กล/าวว/า ธรรมาภิบาล หมายถึง วิธีการที่บุคลากรและ สถาบันของรัฐได6มาซึ่งอำนาจและการใช6อำนาจนั้นเพื่อกำหนดนโยบายสาธารณะและจัดบริการสาธารณะ ๔) Kaufman และคณะ (๒๐๐๙: หน6าที่ ๕) กล/าวว/า ธรรมาภิบาล คือ ประเพณีปฏิบัติและ สถาบันที่บังคับใช6อำนาจทางการเมืองในแต/ละประเทศ คำนิยามข6างต6นแสดงให6เห็นถึงคุณลักษณะที่สำคัญของหลักธรรมาภิบาล คือ กระบวนการบังคับใช อำนาจในการบริหารจัดการป"ญหาต/าง ๆ ภายในชุมชนและประเทศ ดังนั้น ธรรมาภิบาลจึงประกอบด6วย ๓ มิติ คือ ๑) กฎ (Rule) ที่จัดตั้งระบบและระเบียบในการใช6อำนาจ ๒) ผู6บังคับใช6อำนาจซึ่งอาจเปIนบุคคล กลุ/ม บุคคล หรือองคOกร (Ruler, Ruling Group, Ruling Institution) และ ๓) ชุมชน สังคม และประเทศที่ยอมรับ ในกฎ อำนาจ และผู6บังคับใช6อำนาจ ซึ่งกระบวนการได6มาซึ่งอำนาจและกฎอย/างชอบธรรมนั้นอาจสามารถ กระทำได6ด6วยวิธีการต/าง ๆ เช/น การเลือกตั้ง การลงประชามติ เปIนต6น นอกจากนี้ หลักธรรมาภิบาลอาจ ครอบคลุมถึง เปïาประสงคOของนโยบายสาธารณะและค/านิยมและขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคม ความสลับซับซ6อนดังกล/าวของธรรมาภิบาลจึงทำให6เกิดความท6าทายในการวัดประเมินคุณภาพ ธรรมาภิ บ าลหรื อ “การบริ ห ารจั ด การที ่ ด ี ” (Keefer, ๒๐๐๙; Williams, ๒๐๐๙; Grindle, ๒๐๑๐) โดย หน/วยงานภายในองคOการสหประชาชาติเองและองคOกรระหว/างประเทศต/าง ๆ ล6วนมีแนวทางการตีความ เงื่อนไข และองคOประกอบของการบริหารจัดการที่ดีที่แตกต/างกันดังปรากฏในตารางที่ ๒-๑ ตารางที่ ๒-๑ คำนิยามและองค์ประกอบของหลักการบริหารจัดการที่ดี (Good Governance) โดยหน่วยงานขององค์การสหประชาชาติและองค์กรระหว่างประเทศ หน่วยงาน คำนิยามการบริหารจัดการที่ดี องค์ประกอบ องค์การสหประชาชาติ ระดับความโปร่งใสของสถาบันทาง ๑) ความเสมอภาคเท่าเทียม (Equity) (UN) การเมืองการปกครองและกระบวนการ ๒) การมีส่วนร่วม (Participation) ทางด้านการเมืองการปกครอง” ๓) ความหลากหลาย (Pluralism) ๔) ความโปร่งใส (Transparency) ๕) การตรวจสอบได้ (Accountability) ๖) ความเป็นนิติรัฐ (Rule of Law) โครงการเพื่อ ระบบการปกครองที่ตอบสนองต่อ ๑) การมีส่วนร่วม (Participation) ความต้องการของประชาชน ๒) การไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลัง มีประสิทธิภาพ และมีความโปร่งใส (Inclusiveness)