บันทึก 25 ปีธรรมศาสตร์ลำปาง บันทึก 25 ปีธรรมศาสตร์ลำปาง | Page 68
จารึกไว้ในประวัติ มธ. ศูนย์ล�ำปาง
ธรรมศาสตร์ล�ำปาง ในความทรงจ�ำ และความรู้สึก
โดย รองศาสตราจารย์ ดร. สายทิพย์ สุคติพันธุ์ ครูผู้สร้างเราชาว มธ.ล�ำปาง
รวบรวมโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งนภา เทพภาพ
เล่าเรื่องเก่าก่อนที่เราจะขึ้นป้ายมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์ล�ำปาง ที่หน้าอาคารศาลากลางหลังเดิม มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์มาขยายโอกาสการศึกษาตามปรัชญาของเรา เมื่อ ๒๕๓๕ ด้วยหลักสูตรปริญญาโท รัฐศาสตร์ MPE เราท�ำ
ความร่วมมือกับราชภัฏล�ำปาง
ดร.เอนก อาจารย์จารุณี สุนทรศารทูล อาจารย์ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ ช่วยกันท�ำ MPE จนมีชื่อเสียง มีศิษย์เก่าสองสาม
ร้อยคนทั่วภาคเหนือ ชุมชนล�ำปางถามหาว่าเราจะท�ำหลักสูตร ป ตรี ให้ลูกหลานล�ำปางได้ไหม
อาจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร ท่านอธิการบดีในขณะนั้น ถามว่า “เราจะท�ำ ไหม?” ตอนนั้ น ไม่ คิ ด ว่ า จะยากนั ก จึ งตอบ
ว่า “ท�ำได้ค ะ ่ ” แต่เราต้องเริ ม ่ ด้วยสาขาที ม ่ ค ี วามแข็งแรงทางวิชาการ อาจารย์นรนิติ สั ง ่ ว่า หลักการส�ำคัญที ส ่ ด ุ คือต้องได้มาตรฐาน
ไม่ประนีประนอมเรื่องมาตรฐานทางวิชาการเด็ดขาด
คณาจารย์คณะสังคมสงเคราะห์กล้าหาญที ส ่ ด ุ ได้ตอบรับค�ำชวนเชิญเปิดปริญญาตรีท ล ี่ ำ � ปาง โดยท่านคณบดีเดชา สังขวรรณ
และต้องยอมรับว่าครั ง ้ แรกคนล�ำปางอยากได้คณะแพทย์ก บ ั นิต ศ ิ าสตร์ ดิฉ น ั สวมวิญญาณชาวสังเคราะห์ (สังคมสงเคราะห์) อธิบาย
ถึงความเป็นหนึ่งของสังเคราะห์เราที่ลงตัวอย่างยิ่งดับการขยายโอกาสทางการศึกษา
ปัญหาคือ จะเรียนที่ไหน จะเรียนที่ราชภัฏก็เท่ากับว่ายังไม่ลงหลักปักฐานเป็นมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ตอนนั้นทบวง
มีโครงการขยายวิทยาเขตไปภูมิภาค คุณบุญชู ตรีทอง กับ ส.ส. ล�ำปางหลายคน ก็พยายามผลักดัน หาที่ดินที่โน่นที่นี่เตรียมให้ ม
อาจารยวุฒิสารด้วย อาจารย์ณรงค์ ใจหาญด้วย แต่กว่าจะพัฒาที่ดิน สร้างอาคารคงอีกเกือบสิบปี ศิษย์เก่าบางท่านเสนอว่า
แบ๊งค์ชาติจะย้ายไปเชียงใหม่ ศาลากลางก็จะย้ายไปที่ใหม่ ทีมบุกเบิกก็ตามไปดู ตามไปเจรจา
อยากบอกให้พวกเราจ�ำชื่อท่านผู้ว่าที่อนุญาตให้เราใช้ศาลากลาง ตอนนั้นผู้ว่าล�ำปาง คือ ท่านสหัส พินทุเสนีย์ รัฐศาสตร
จุฬาฯ รองสองท่าน ท่านพีระ มานะทัศน์ เศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์, ท่านเฉลิมพล ประ ทีปะวณิช รัฐศาสตร์ ธรรมศาสตร
รองสองท่านไม่กล้าออกปาก เพราะตามแผนศาลากลางต้องใช้เป็นที่ว่าการอ�ำเภอเมือง อาจารย์นรนิติ ชวนดิฉันไปคุยกับท่านผู้ว่า
ท่านสหัส ตอบ “โอเค” ที่ท�ำการอ�ำเภอเมืองรอได้ งานนี้จุฬาธรรมศาสตร์สามัคค
ช่วงนั น ้ เราสอบคัดเลือกสังคมสงเคราะห์ปริญญาตรีร น ่ ุ แรก รุ น ่ พี่ MPE (รัฐศาสตร์) มายึดหัวหาดศาลากลางไว้ก อ ่ น เพราะ
ยังจัดการให้มีอาจารย์มาสอน ปริญญาตรี ปีหนึ่งไม่ได้ลงตัว ปัญหาคือเอาเงินที่ไหนมาปรับปรุงศาลากลาง ซึ่งถูกทิ้งไปอย่าง
ทรุดโทรม นักศึกษาสังเคราะห์ปีหนึ่งจึงไปเรียนที่รังสิต
ช่วงนี ม ้ ท ี า ่ นผู ใ ้ หญ่ใจดีสองท่านมาช่วยเตรียมงาน ท่านอาจารย์จารุณี สุนทรศารทูล รัฐศาสตร์ กับ ท่านอาจารย์ฉ น ั ทลักษณ
ณ ป้อมเพชร คณะพาณิชย์ฯ เราใช้เงินพี่ MPE ปรับปรุงห้องเรียนใหญ่สองห้องใช้งบประมาณซ่อมแซมทั้งหมด แต่เรามีเงินเพียง
หลักแสน มีข้าราชการมาช่วยราชการสามคน มีพนักงานอีกไม่ถึงสิบคน อาจารย์สามคน ยังจ�ำกันได้ไหมเอ่ย พี่ๆรุ่นแรก พี่หม
พี่เป๋า พี่จา อาจารย์ฝน อาจารย์แกะ อาจารย์ต่าย อาจารย์โขมสี พี่จุ้ย พี่กล้วยบรรณารักษ์ พี่ดาว พี่เกด พี่วัลลา
เฟอร์นิเจอร์ห้องสมุดมีที่มาเก๋ที่สุด เราขอโต๊ะเก้าอี้จากหอสมุดที่ท่าพระจันทร์มา ขอรถทหารขนมาสามคันเป็นไม้แท
อายุห า ้ สิบปีท ง ั้ นั น ้ เราเข้าไปรับศาลากลางที ม ่ เ ี ศษขยะมากมาย ขวดเหล้าจากห้องสรรพสามิตเป็นสิบๆลัง ขี แ ้ มวขี ค ้ า ้ งคาวมากมาย
บนเพดาน แล้วบนห้องใต้เพดาน เราก็พบรัฐธรรมนูญฉบับ ๒๔๗๕ จ�ำลอง ที่เราอิ้บไว้จนทุกวันน
๕๘