Telecom & Innovation Journal | Page 2

2 Cover Story TELECOM & INNOVATION JOURNAL วันศุกร์ที่ 1 กรกฏาคม - วันศุกร์ที่ 15 กรกฏาคม 2559
2 Cover Story TELECOM & INNOVATION JOURNAL วันศุกร์ที่ 1 กรกฏาคม - วันศุกร์ที่ 15 กรกฏาคม 2559
ต่อจากหน้า 1

สัดส่วนของตลาดสื่อสารไทยแบ่งออกเป็น Equipment ( hardware และสินค้า ) และ Services ( software และการบริการ ) โดยที่สัดส่วนก็น่าจะคงที่อยู่ที่ประมาณ 40:60 ต่อปีคือมีการใช้เงิน กับบริการมากกว่าสินค้า การเปิดให้บริการและการเติบโตของ 3G / 4G คือตัวผลักดันหลักของทั้งสองส่วน ในส่วนของอุปกรณ์ Telco ทั้งหลายไม่ว่าจะเป็น AIS Dtac และ True ต่างลงทุนกันปี ละหลายหมื่นล้าน ผู้บริโภคเองก็ซื้อมือถือใหม่ โดยตลาดไม่ได้ถูก ดันแค่จากคนในเมืองซื้อ iPhone หรือ Samsung ตัวใหม่ล่าสุด แต่ผู ้มีรายได้น้อยก็หันมาใช้ smartphone ราคาถูกเช่นกัน แต่ราคา ของ smartphone เป็นส่วนน้อยมากเมือเทียบกับเงินที่ผู้บริโภคใช้ ไปกับค่าบริการ ไม่ว่าจะเป็นค่าโทร ค่า data ค่าอินเทอร์เน็ต และ แม้แต่ Telco เองเงินที่ลงทุนไปก็ย่อมน้อยกว่าเงินที่ได้มาจากการ ขายบริการโทรคมนาคม จึงเป็นเหตุให้บริการมีมูลค่าสูงกว่า wireless คาดว่าจะเติบโตถึง 42 % มูลค่ารวม 50,860 ล้านบาท ! ท�ำให้เห็นว่าประเทศไทยเป็นประเทศ mobile-first จริงๆ ในส่วน ของ wireless การลงทุนจะเริ่มเปลี่ยนจากแค่การครอบคุม ( coverage ) ทั่วประเทศ ซึ่งผู้ให้บริการทุกเจ้าท�ำส�ำเร็จไปแล้ว แต่ จะเริ่มไปลงทุนในคุณภาพ ( penetration ) คือให้เน้นบริการในที่

ถ้าเราสนใจเรื่องผู้ประกอบการเราควรให้ความสนใจด้าน บริการมากกว่าด้านอุปกรณ์ เพราะว่าประเทศไทยผลิตอุปกรณ์ สื่อสารของตัวเองน้อยมาก มือถือที่เราใช้กันก็เป็นของ brand ต่าง ประเทศ แม้แต่เวลาที่ Telco ลงทุนก็ต้องใช้เทคโนโลยีของบริษัท ต่างชาติ แต่ในส่วนของภาคบริการ Telco ทั้งหมดยังเป็นบริษัทใน ไทยอยู่ และ content ต่างก็มีสัดส่วนของไทยอยู่ไม่น้อย นอกจาก เจ้าใหญ่ๆ อย่าง Facebook Youtube Instagram และ Line แล้ว Content ที่คนไทยใช้มีที่เป็นของคนไทยเยอะ ไม่ว่าจะเป็น Pantip หรือ app ต่างๆ ที่เกิดจาก Startup

ในตลาดการลงทุนอุปกรณ์โครงข่ายเห็นได้ชัดว่าแม้เศรษฐกิจ และตลาดสื่อสารโดยรวมจะชะลอตัวไปในปี 2558 แต่ ผู้ให้บริการ ในประเทศไทยมีการลงทุนเพิ่มขึ้นทุกปี นี่เกิดจากการแข่งขันหลัง จากการเกิดของ 3G / 4G ที่เริ่มหลังจากการประมูล ผู้ให้บริการทุก เจ้ารู้ดีว่าต้องมีการลงทุนอย่างต่อเนื่องเพื่อแข่งขันเอาใจลูกค้า ตลาดนี้จึงเป็นตลาด recession-proof คือไม่สะทกสะท้านต่อการ ชะลอตัวของผู้อื่น เดินหน้าเติบโตต่อไป โดยในปีนี้ เพราะมีการ ประมูลคลื่น 900 MHz และคลื่น 1800 MHz จึงเชื่อว่าจะมีการ เติบบโตถึง 13.1 % มูลค่ารวมที่ 78,780 ล้านบาท !

เห็นได้ชัดว่ามีการเติบโตทั้งแบบ fixed line และแบบ wireless แต่ว่าตลาด fixed line ยังเล็กกว่ามาก แม้ในปี 2559 คาดว่าจะ เติบโตถึง 12.2 % แต่มูลค่าก็จะถึงแค่ 17,980 ล้านบาท ในขณะที่

แออัด หรือในตัวตึกดีขึ้น ด้วยเทคโนโลยีอย่าง small cell ใช้ติดตาม สิ่งก่อสร้าง

บริการด้านการสื่อสารคาดว่าจะโต 13.9 % มูลค่ารวม 246,559 ล้านบาทในปี 2559 จาก 216,404 ล้านบาทเมื่อปี 2558 ตามคาดบริการ non-voice หลักคือ data มีการเติบโตอย่าง มหาศาล ตั้งแต่ปี จาก 88,485 ล้านบาทในปี 2557 คาดว่าจะสูง ถึง 151,847 ล้านบาทในปี 2559 คือสูงขึ้นเกือบ 2 เท่าเลยทีเดียว ในขณะที่ voice มีการหดตัวอยู่ตลอดเวลา จาก 121,175 ล้านบาท ในปี 2557 จะตกมาอยู่ที่ 94,712 ล้านบาทในปี 2559 แต่เห็นได้ ชัดว่า voice ตกลงมาช้ากว่าการเติบโตของ data และยังคงมีมูลค่า สูงมากอยู่ จึงท�ำให้ผู้ให้บริการยังต้องให้ความส�ำคัญอยู่

ในส่วนของตลาดอินเทอร์เน็ต ก็ยังมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง แต่จากที่เราได้เห็นจากตลาดการลงทุนแล้ว ประเทศไทยเป็น ประเทศ mobile first ถึงแม้มีการเติบโต 10.1 % ในปี 2558 และ 10.9 % ในปี 2559 แต่มูลค่าตลาดรวมยังอยู่แค่ 59,396 ล้านบาท ยังเล็กกว่าตลาด mobile มาก

ตลาดบริการโทรระหว่างประเทศตกลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งก็ไม่ น่าแปลกใจเลย ไม่ใช่เพราะคนไทยติดต่อต่างประเทศน้อยลง ตรง กันข้าม มีการติดต่อมากขึ้น แต่ใช้ data ในการติดต่อแทน โดยใน ปี 2559 คาดว่าด้วยการเติบโตของ 4G ตลาดนี่จะตกลงถึง 24.6 % มูลค่ารวมต�่ำกว่า 10,000 ล้านเป็นครั้งแรก เหลือแค่ประมาณ 7,800 ล้านเท่านั้นเอง

ตลาด data service มีความน่าสนใจมาก ดูได้จาก infographic ว่าเป็นตลาดที่เล็กมาก และที่ส�ำคัญมีการเติบโตน้อยมาก ซึ่งแปลกเพราะว่าการใช้ data ของคนไทยเติบโตเป็นอย่างมาก อย่างที่เราได้เห็นกันแล้ว ข้อมูลตัวนี้จึงเป็นเรื่องน่าเป็นหวง เพราะ นี่แปลว่าบริษัทต่างๆ ที่ให้บริการกับคนไทย ไม่ตั้ง data center ใน ประเทศไทยเลย แน่นอนเลยว่าผู้ให้บริการ content รายใหญ่ๆ อย่าง Youtube ไม่ได้ตั้ง data center ในไทย ไปตั้งอยู่ที่สิงคโปร์