่
้
ลงทุน สัดส่วนการถือหุ ้นด้วย โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง หากต้อง Exit จากกิจการที่ลงทุนนั้น โดย ยกตัวอย่าง การลงทุนที่ชาญฉลาดของ Casino Group ที่ขาย BIG C ให้แก่กลุ ่มของ เจริญ สิริวัฒนภักดี
ยงยุทธ เหลืองรัตนมาศ หัวหน้าเจ้าหน้าที่ บริหารวาณิชธนกิจ ทีเอ็มบี กล่าวว่า ไม่ได้บอก ว่า Cross-Border Investment เป็นปัจจัย ส�ำคัญสู ่การเติบโตขององค์กร แต่ก็เป็นฟันเฟือง ส�ำคัญในการมุ ่งสู ่เป้าหมายดังกล่าว ตัวอย่างรูป ธรรม คือ ความส�ำเร็จของบริษัทขนาดใหญ่เช่น เอสซีจี กลุ ่มไมเนอร์ ซีพีเอฟ ฯลฯ
“ ทุกบริษัทพบความกดดันเหมือนกัน นั่น คือ การสร้างผลตอบแทนในอัตราที่ผู ้ถือหุ ้น หรือ ผู ้ลงทุนพอใจ ซึ่งการออกไปลงทุนต่างประเทศ เป็นแนวทางส�ำคัญแนวทางหนึ่ง”
ยงยุทธ ให้ความเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์ในการ ท�ำ M & A ว่า ปกติข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทที่ต้องการ หาคนร่วมลงทุนมีอยู ่ทั่วไป เพียงแต่ต้องท�ำการ ศึกษาอย่างลึกซึ้ง ปัจจัยหลักซึ่งบอกว่า ถึงเวลา แล้วที่องค์กรต้องซื้อหรือควบรวมกิจการ คือ การดูว่า คู ่แข่งท�ำอะไร พยายามท�ำความเข้าใจ กับกลยุทธ์ของพวกเขา
“ โดยพื้นฐาน แบงก์พร้อมให้สินเชื่อลูกค้าอยู แล้ว ถ้าโครงการนั้นๆดีและ Reputation ของผู ้กู ดี ดังนั้น สิ่งที่ต้องท�ำคือ หันกลับมามองภายใน ดูว่าการซื้อกิจการหรือการควบรวมมีประโยชน์ สอดคล้องกับกลยุทธ์ของบริษัทหรือไม่”
ในตอนท้าย เสนธิป ศรีไพพรรณ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารลูกค้าธุรกิจ ทีเอ็มบี สรุปว่า ทีเอ็มบีและไอเอ็นจี เชื่อว่า โอกาสไม่ใช่ของ บริษัทยักษ์ใหญ่เท่านั้น โดยการเสวนาครั้งนี้ได้ เปิดให้เห็นมุมมองอีกด้านหนึ ่ง เห็นโอกาสและ ความพร้อมที่บริษัทไทยมีอยู่การที่มีวิทยากร ผู ้ทรงคุณวุฒิมาแชร์ประสบการณ์จริง เชื่อว่าจะ ท�ำให้เกิดภาพของการ Make The Difference ได้ชัดเจนขึ้น
“ ธุรกิจขนาดกลางของไทยมีศักยภาพและ มีโอกาสได้ประโยชน์จากการลงทุนในกิจการ ต่างประเทศได้อีกมาก หากสามารถบริหาร
ข้อมูลจากการศึกษาของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยระบุว่า สัดส่วนรายได้ ของบริษัทจดทะเบียนไทยจากการลงทุนต่างประเทศมีสัดส่วนสูงขึ้นตามล�ำดับ
1. กลยุทธ์ M & A ประกอบด้วย Business Expansion |
ตัวอย่างเช่น |
EPG / Big C / Sawad / JMart |
Re-Organization |
ตัวอย่างเช่น |
PTTGC / BEM / Dynasty |
Diversification |
ตัวอย่างเช่น |
BJC / Central Food / PTTR |
M & A Model Share( New & Existing) Property( TA & ITA) |
|
|
Business( Distribution & Customers) |
Cash- Non-Cash |
2. ปัจจัยช่วงก่อนท�ำสัญญาที่จะท�ำให้ M & A ประสบความส�ำเร็จ การตรวจสอบวิเคราะห์สถานะของกิจการ( Due Diligence) เงินลงทุน ที่มาของแหล่งเงิน( Financing) การพูดคุยกับผู้มีส่วนได้เสียคนอื่นๆ( Others Stakeholders) การได้มาของเงินทุน ทั้งก่อนและหลังดีล( Pre-and-Post Capital Structure) ข้อสรุป( Definitive Agreement) โครงสร้างของสัญญา( Transaction Structuring) การสื่อสารที่โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ( Transparent & Effective Communications) การเข้ากันได้กับผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมด( Chemistry with Key Stakeholders) การมีกลยุทธ์ที่ชัดเจน( Clear Strategy)
3. ปัจจัยหลังท�ำสัญญาที่จะท�ำให้ M & A ประสบความส�ำเร็จ 1. บังคับใช้สัญญาอย่างจริงจัง( Enforcing Agreement) 2. โครงสร้างองค์กรที่ชัดเจน( Organization Structure) 3. ท�ำให้ได้ตามที่วางแผนไว้( Investor Expectation) 4. ความต่อเนื่องของการท�ำตามแผนธุรกิจ( Business Plan Continuity) 5. จ่ายช�ำระหนี้ตรงตามก�ำหนดเวลา( Debt Repayment) 6. ใช้ประโยชน์จากพลังผนึก( Synergy Realisation) 7. บูรณาการการควบรวมให้ได้ประโยชน์สูงสุด( Integration Plan) 8. ดูแลเรื่องบัญชีและรายได้อย่างรอบคอบ ถูกต้อง ครบถ้วน( Accounting and / Earning Impact)
กระบวนการเลือกกิจการ การวิเคราะห์โอกาส ที่เหมาะสม และการปิดความเสี่ยงส�ำคัญที่อาจ เกิดขึ้นได้ ซึ่งทั้ง ทีเอ็มบี และ ไอเอ็นจี แบงก์กิ้ง เอเชีย มีความพร้อมในการให้ค�ำปรึกษา และ
สนับสนุนบริษัทไทยในการลงทุนซื้อหรือควบ รวมกิจการในต่างประเทศอย่างครบทุกขั้นตอน ตั้งแต่การหาโอกาส การวิเคราะห์ การเจรา และ แหล่งเงินทุน”
B-CONNECT MAGAZINE 51