่
่
ของการออกแบบ, เวลาท�ำงาน, การควบคุม คุณภาพของงาน รวมถึงการประสานงานกับ ส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยผู ้ใช้สามารถก�ำหนด และใส่ข้อมูลต่างๆ ตลอดจนรายละเอียดลงไป ในทุกๆ ส่วนขององค์ประกอบอาคาร เช่น ขนาด ความกว้างยาว, วัสดุต่างๆ, รูปแบบการเขียน แบบ, ราคา ฯลฯ ท�ำให้ทุกส่วนของการออกแบบ มีความครบถ้วนทั้งในรูปแบบ 2 มิติและ 3 มิติ โดยมิได้เป็นเพียงแค่การเขียนแบบหรือขึ้นรูป เป็น 3 มิติเท่านั้น แต่เป็นการท�ำงานควบคู ่กันไป ทั้งกระบวนการ ซึ่งแม้จะใช้ยังไม่เต็มเฟส แต่ก็ จะช่วยให้กคช. ประหยัดทั้งต้นทุนและเวลาได้
นอกจากนี้ กคช. ก็มีการท�ำ Big Data ซึ่ง ขณะนี้ภาครัฐได้ให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมกันท�ำ Big Data ทั้งระบบเป็นกลุ ่มๆ เช่น กลุ ่มพลังงาน กลุ ่มการเงิน ส่วนกลุ ่มที่อยู ่อาศัยก็มี การนิคม อุตสาหกรรม ท�ำเรื่องนี้ และมี ธนาคาร อาคารสงเคราะห์ ท�ำในส่วนของซีกอุปสงค์( Demand Side) ส่วน กคช. ท�ำในซีกของอุปทาน( Supply Side) โดยการท�ำข้อมูลและท�ำ Analytics ควบคู ่กันไปกับการขึ้นทะเบียนคนจน และการที่เรารู้ในฟากของอุปสงค์ก็จะท�ำให้ ทราบถึงความต้องการของตลาดว่าเป็นอย่างไร หรือพื้นที่ขาดที่อยู ่อาศัยแบบใด กลุ ่มประชากร ในพื้นที่นั้นๆ เป็นอย่างไร ฯลฯ ดร. ธัชพลกล่าว ว่า“ เรายังมีระบบการจองบ้านผ่านออนไลน์ แบบ One Stop Service ซึ่ง กคช. ได้พัฒนา นวัตกรรมระบบการให้บริการค้นหาบ้านว่าง พร้อมขายและจองผ่านระบบจองบ้านออนไลน์ เพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ 4.0 เพื่อเพิ่ม ช่องทางการขายและบริการข้อมูลให้กับ ประชาชนที่สนใจจะจองโครงการให้สามารถ จองได้ง่ายๆ ผ่าน http:// house. nha. co. th ทั้ง จากคอมพิวเตอร์พีซีหรือโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต ซึ่งได้น�ำโครงการที่เปิดจอง 48 โครงการ จ�ำนวน 4,044 หน่วยน�ำออกมาขายใน ระบบจองออนไลน์ตั้งแต่ครั้งเปิดตัวเมื่อกลางปี ที่ผ่านมา ซึ่งลูกค้าสามารถน�ำใบจองหรือบาร์โค้ด ไปช�ำระเงินที่ส�ำนักงานใหญ่ การเคหะแห่งชาติ ส�ำนักงานเคหะชุมชนหรือเคาน์เตอร์เซอร์วิสได้
ระบบจองออนไลน์ในเฟสต่อไปยังจะเอื้อให้ ประชาชนสามารถจองบ้านที่ต่างจังหวัด อย่าง เชียงใหม่ หรือภูเก็ตได้เลยจากหน้าจอ โดยจะมี ข้อมูลพร้อมภาพให้ตัดสินใจ ขณะที่เฟสต่อไปจะ พัฒนาให้สามารถดูพื้นที่จริงได้จากแว่นวีอาร์( Virtual Reality: VR) ซึ่งก็จะเอื้อให้ผู ้ซื้อตัดสิน ใจได้เร็วขึ้นหรือเอื้อให้สามารถซื้อได้เลย”
เป้าหมายอีกประการที่ การเคหะฯ ยุค 4.0 ต้องการไปให้ได้ นั่นคือ การพัฒนาสมาร์ทซิตี้ ซึ่ง โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม เส้นทางตะวันออกที่ จะตัดผ่านโซนดินแดงนั้น ถ้าหากการเจรจากับ กระทรวงคมนาคมให้กลับมาเชื่อมดินแดง สัมฤทธิ์ผลก็จะท�ำให้ดินแดงเป็นเมืองเชื่อม อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิได้“ ถ้าส�ำเร็จจะท�ำให้ โครงการนี้กระจายไปหัวเมืองก็ได้ เช่น กคช. มี ที่ดินในเชียงใหม่หาดใหญ่ภูเก็ต ท�ำให้ความเป็น อยู ่พี่น้องประชาชนดีขึ้น” ดร. ธัชพลกล่าว
ปรับมุมมอง
การเคหะแห่งชาติในยุคดร. ธัชพลมีทั้งการ ปรับมุมมองเพื่อท�ำการตลาดเชิงรุก( Offensive Marketing) หลายประการ อาทิ จากเดิม ที่ท�ำการตลาดแบบตั้งรับ อาทิการขายโครงการ ในต่างจังหวัดที่มีการแจกใบปลิว ออก ประชาสัมพันธ์รถเคลื่อนที่ ซึ่งผลลัพธ์ที่ผ่านมา ไม่น่าพอใจ การท�ำการตลาดเชิงรุกในยุค 4.0 นี้ จึงเป็นการปรับวิธีคิดแล้ววิเคราะห์เพื่อหา Insight ของตลาดก่อน ทั้งในแง่ของกลุ ่มประชาชน ความต้องการตลาด รวมทั้งดูว่า โปรดักท์( ที่อยู อาศัย) ของกคช. อยู ่พื้นที่ใดมากที่สุด ซึ่งจากการ ส�ำรวจพบว่ามีอยู ่บริเวณกทม. และจังหวัดใกล้ เคียงอย่างนครปฐม สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานีถึง 70 %
“ การรุกตลาดอย่างนครปฐมเราพบว่าเป็น กลุ ่มข้าราชการ ดังนั้น เราก็ขอทางผู ้ว่าราชการ จังหวัด เพื่อขายโครงการในวันประชุมจังหวัด เลย ซึ่งผลลัพธ์คือเราสามารถขายโครงการได้ 400-500 ยูนิต ซึ่งมากกว่าปกติที่ขายกันได้ถึง 10 เท่า ทั้งนี้ โครงการของเราก็มีตั้งแต่ขนาด 400- 500 ยูนิต หรือโครงการขนาดใหญ่1,000
– 2,000 ยูนิต แต่โดยเฉลี่ยก็เกือบ 1,000 ยูนิต” ดร. ธัชพลกล่าว
นอกจากนี้ เรายังขยายฐานธุรกิจด้วยการ ผสมผสานพอร์ตโฟลิโอของกลุ ่มลูกค้าให้มีกลุ ่ม รายได้ปานกลางมากขึ้นและเป็นโครงการแบบ Mixed Use เพื่อให้มีพื้นที่ในเชิงพาณิชย์ เพราะ ในมิติทางเศรษฐกิจที่ กคช. จะต้องสร้างที่อยู อาศัยให้เพียงพอนั้น ในมิติทางสังคม เราก็ต้อง สร้างชุมชนให้มีความยั่งยืน และช่วยกันดูแล มิ ฉะนั้น ชุมชนก็จะทรุดโทรม ซึ่งโครงการ Mixed Use นั้นก็มีทั้งโมเดลของการหาผู้เช่าพื้นที่( Tenant) เอง จนถึงให้ผู ้อยู ่อาศัยในโครงการท�ำ ธุรกิจเองเป็นตลาดชุมชน หรือมีพื้นที ่จัด ประโยชน์ เพื่อท�ำธุรกิจร้านสะดวกซื้อ ร้านค้า อื่นๆ หรือหากเป็นโครงการขนาดใหญ่อย่าง เชียงใหม่ก็จะท�ำเป็นคอมมูนิตี้มอลล์ทั้งนี้โมเดล ของการท�ำโครงการ Mixed Use ก็จะต้องมี พื้นที่ 50 ไร่ขึ้นไป ซึ่งกคช. ก็เปิดกว้างที่จะท�ำใน พื้นที่ของรัฐ โดยให้เอกชนเข้ามาก่อสร้าง และ ขณะนี้อยู ่ระหว่างการเจรจากับเอกชนรายใหญ่ๆ ที่ให้ความสนใจอย่าง บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค หรือ บมจ. แอล. พี. เอ็นดีเวลลอปเม้นท์”
ปรับโมเดลธุรกิจ
การปรับโมเดลธุรกิจ เพื่อขยายฐานการท�ำ ธุรกิจของ กคช. ที่น่าสนใจ คือ ยุทธศาสตร์ทาง ด้านการเงิน ซึ่งเป็นความเชี่ยวชาญโดยเฉพาะ ของดร. ธัชพลที่มาจากสายการเงินการธนาคาร ท�ำให้โฟกัสที่การบริหารจัดการทางด้านการเงิน เข้มข้นไปด้วย โดยเฉพาะการจัดการกับยอดการ ปฏิเสธสินเชื่อของธนาคารกับผู ้กู ้ กคช. ซึ่งเดิมมี ถึง 50 % และปัญหาต้นทุนการเงินที่ท�ำให้ ดร. ธัชพลปรับโมเดลธุรกิจด้วยนวัตกรรมทางการ เงิน ด้วยการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อท�ำการเช่าซื้อ( Leasing Agency) เพื่อปล่อยสินเชื่อให้กับ ประชาชน นับเป็นกลยุทธ์ Win-Win ทั้งสองฝ่าย
“ เมื่อเราท�ำลิสซิ่งเองก็Win-Win เพราะการ ขอสินเชื่อกับธนาคาร ผู ้ขอกู ้ต้องมีสเตทเม้นท์ดี ท�ำงานเป็นหลักแหล่งและมีรายได้แน่นอน แต่เมื่อ เราท�ำลีสซิ่งเอง ต้องยอมรับว่า บรรทัดฐานของ
32 B-CONNECT MAGAZINE