เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 23

ปากน�้ำประแส จากการเป็นแหล่งค้าขาย เป็นตลาดปากน�้ำท ส�ำคัญในท้องถิ่นและภูมิภาค ทศวรรษที่ ๒๔๙๐ ตลาด ประแสซบเซาลง และเปลี่ยนแปลงมาเป็นการท�ำประมง เชิงพานิชย์ขนาดใหญ่จนเป็นที่รู้จักกันไปทั้งประเทศ และ ท�ำให้คนประแสมีรายได้สูงเป็นที่เล่าลือกัน เนื่องจากช่วงเวลานั้นหัวเมืองชายฝั่งตะวันออกม ความเคลื อ ่ นไหวทางการทหารเป็นอย่างมากจากเหตุการณ สงครามระหว่างสยามกับญวน เกิดการสร้างป้อมปราการ และค่ายทหารในพื้นที่ฝั่งตะวันออกทั้งป้อมปราการเมือง ฉะเชิงเทราและค่ายเนินวงเมืองจันทบุรี บุคคลส�ำคัญที เ ่ ป็น ผู้ควบคุมบังคับบัญชาการศึกทางทะเลในยุคนั้นในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระนั ง ่ เกล้าเจ้าอยู ห ่ ว ั คือ สมเด็จเจ้าพระยา บรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ) หรือสมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ การก่อสร้างวัดโยธานิมิตที่มีการสร้างเจดีย์ทรงระฆังบน ฐานที่ซ้อนลวดบัวมาลัยเถาหลายชั้น จ�ำลองรูปแบบมา จากเจดีย์วัดประยูรวงศ์ฯ ที่อาจถือว่าเป็นการสร้างเจดีย องค์ระฆังเป็นครั ง ้ แรกในกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นเอกลักษณ ของงานช่างในกลุ่มตระกูลบุนนาคและแบบประเพณีนิยม ในเวลาต่อมา พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เมื่ อ เสด็ จ ผ่ า นปากแม่ น�้ ำ ประแส คราวเสด็ จ ประพาส ชายฝั่งทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๔๒๗ โปรดเกล้าฯ ให สร้าง “วัดสมมติเทพฐาปนาราม” ที่บริเวณแหลมสนนั้น ประกอบ “พระเจดีย เ ์ ดิม” ที เ ่ ป็นเจดีย อ ์ งค์ระฆังย่อมๆ และ พระราชทานสิ่งของไว้ที่วัดตามสมควร อนึ่ง ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ช่วงเวลาผ่านไปไม่นาน นักก็น่าจะลืมไปแล้วว่ามีการสร้างเจดีย์รูปทรงระฆังเหล่า นี้ในพื้นที่ต่างๆ โดยไม่มีวัดเพื่ออะไร เจดีย์ทรงระฆังนี้รูป แบบเดียวกับเจดีย์ที่วัดทะเลน้อยหรือวัดราชบัลลังก์ปฏิฐา วรารามซึ่งในบริเวณที่เป็นจุดยุทธศาสตร์หลายแห่งแถบ ปากน� ำ ้ หรือจุดชัยภูม ต ิ ามเส้นทางเดินทางหรือเดินทัพก็พบ เจดีย์ทรงระฆังองค์ย่อมๆ โดยไม่มีวัดปรากฏอยู่ เช่น ท “เขาน้อย” ฝั่งตรงข้ามกับเมืองจันทบูรเก่าที่ล้อมรอบด้วย ก�ำแพงหินขนาดใหญ่ ซึ ง ่ ชาวบ้านยุคต่อมาเรียกว่า “หัววัง” บริเวณปากน� ำ ้ แหลมสิงห์ ปากน� ำ ้ ประแส และวัดทะเลน้อย ปากน�้ำระยอง ช่องแสมสาร ไปจนถึงเชิงเขาบางทรายท บางปลาสร้อย ฯลฯ ส่วนด้านเหนือเป็นที่ท�ำการทหารรักษาความสงบ เรียบร้อยและป้องกันกลุ ม ่ โจรสลัดเพราะเป็นที เ ่ ปลี ย ่ ว และ บริเวณนี้ตั้งอยู่ใกล้เกาะมันทั้งสาม คือเกาะมันนอก เกาะ มันกลาง และเกาะมันใน ซึ ง ่ มักมีพวกสลัดออกไปพ�ำนักใช เป็นที ห ่ ลบภัยและดักปล้นเรือต่างๆ ที โ ่ ด่งดังคือ “เสือผ่อน” จนมีความทรงจ�ำส�ำหรับคนสูงวัยในกลอนล�ำตัดเก่าและค�ำ บอกเล่ามาจนถึงบัดนี้ และก่อนหน้านั น ้ คือจอมโจรก๊กต่างๆ เรือฉลอมติดใบเรือในล�ำน�้ำประแส พ.ศ.​ ๒๔๗๙ ภาพจาก Robert L. Pendleton Collection. University of Wisconsin-Milwaukee Libraries. http://collections. lib.uwm.edu/digital/ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 23