เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 21

“เมืองแกลง” เริ ม ่ ปรากฏอย่างชัดเจนในนิราศของ สุนทรภู่ สันนิษฐานว่าแต่งขึ น ้ ในราว พ.ศ. ๒๓๔๙ ในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ บิดาของสุนทร ภู่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูเจ้าคณะเมือง แกลง อยู่ที่วัดป่ากร�่ำ น่าสังเกตว่าวัดเจ้าคณะเมืองนั้นตั้ง อยู่ท ่ ี บ้านกร�่ำ ซึ่งเป็นชุมชนชายขอบที่เนินต่อกับที่ราบลุ่ม ใช้ท ำ � นาปลูกข้าวผืนใหญ่ต ด ิ กับที ล ่ ม ่ ุ น� ำ ้ ท่วมถึงในสาขาของ คลองประแสคือ “คลองเนินฆ้อ” ซึ่งเป็นล�ำคลองน�้ำกร่อย และทุ่งนาที่ติดต่อกับบริเวณหาดทรายชายทะเล แถบนี้ม กลุ่มบ้านอยู่หลายแห่งเป็นกลุ่มใหญ่เพราะพื้นที่เหมาะสม และอุดมสมบูรณ แต่ต�ำแหน่งเมืองแกลงที่ยกกระบัตรและกรม การเมืองอยู่อาศัยไม่ ใช่ต�ำแหน่งที่ตั้งใน “คลองแกลง” เพราะสุนทรภู่กล่าวถึง “บ้านแกลง” ซึ่งอยู่ริมคลองแกลง ทางตะวันตกของบ้านกร�่ำที่ “บ้านดอนเด็จ” ซึ่งอาจจะเป็น “บ้านดอนเค็ด” เนื่องจากการคัดลอกที่ผิดพลาดก็ได้ ซึ่ง “บ้านดอนเค็ดแถบวัดโพธิ์ทองเหนือสามย่าน” ขึ้นมานั้น เป็นสถานที่ตั้งของบ้านเรือนกรมการเมืองและเจ้าเมือง แกลงจนถึงสมัยเปลี่ยนแปลงเป็นระบบมณฑลเทศาภิบาล ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาข้อมูลจากแผนที่ ใน เอกสารเรื่อง “ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม” ของเซอร จอห์น เบาว์ร ง ิ จากอังกฤษที เ ่ ข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีเมื อ ่ พ.ศ. ๒๓๙๗ จากฐานข้อมูลที่มีการเริ่มเก็บเพื่อท�ำแผนท ตั ง ้ แต่การส่งทูตจอห์น ครอว์เฟิร ด ์ เข้ามาขอท�ำสนธิส ญ ญา กับสยามตั ง ้ แต่ในครั ง ้ รัชกาลที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๖๕ ลงต�ำแหน่ง หัวเมืองทางชายฝั่งทะเลตะวันออกไล่เรียงตั้งแต่ บ้านบาง ปลาสร้อย [Bangplasoi] บางปะมุงหรือบางละมุง [Bang- pomung] บางพระ [B.Phrai] ระยอง [Rayong] เมืองแกลง [M. Trang] บ้านกระแจะ [B.Kacheh] จันทบุรี [Chantabu- ri] เมืองทุ่งใหญ่ [M.Tungyai] รวมทั้งลงต�ำแหน่งและชื่อ ล�ำน�้ำส�ำคัญ คือ แม่น�้ำระยอง แม่น�้ำประแส แม่น�้ำพังราด และแม่น�้ำจันทบุร ต�ำแหน่งเมืองแกลงที่เขียนว่า “M.Trang” อยู ทางตะวันตกของเมืองระยอง ก่อนถึงแม่น�้ำประแส ใกล บริเวณแหลมที่น่าจะคือเขาแหลมหญ้าบริเวณช่องเสม็ด และส่ ว นทางเหนื อ ปากน�้ ำ ประแสไม่ มี ต� ำ แหน่ ง เมื อ ง ปรากฎอยู่ จนถึงราวรัชกาลที่ ๕ เริ่มมีการลงรายละเอียด ที่เปลี่ยนไป ดังแผนที่บริเวณอ่าวตอนในและชายฝั่งทะเล สู่จันทบูรของ เฮอร์เบิร์ต แวริงตัน สมิธ ที่ลงต�ำแหน่ง ทั้ง “เมืองแกลงและเมืองประแส” ในแผนที่ดังกล่าวเมื่อ ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๓๔-๒๔๓๙ ต่อมาในราวก่อนเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๓๙๘ ใน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีการกล่าว ถึง “เมืองแกลง” ๒ สองครั้ง และระบุถึงปลายน�้ำเมือง แกลง ๒ แห่งในข้อความเดียวกันว่า “ให้หามาดเส้น (เรือ มาดคือเรือใช้ฝีพาย มีหลายแบบ ที่เป็นเรือพระที่นั่ง เช่น มาดประทุน มาดเก๋ง ค�ำว่ามาดเส้นคือความยาวของเรือ เกิน ๒๐ วา ซึ่ง ๑ เส้นคือราว ๔๐ เมตร ซึ่งเป็นซุงไม ตะเคียนที่ยาวมาก) มาทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายซึ่ง... พระยาวิชยาธิบดีหาได้ที่ป่าเมืองจันทบุรีล�ำ ๑ พระเทพ สงครามปลัดหาได้ที่ตะเคียนทองล�ำ ๑ พระแกลงแกล้ว กล้าหาได้ที่ ปลายน�้ำเมืองแกลง ๒ ล�ำ พระอินทรอาสา (ทุม) หาได้ที่ปลายน�้ำเมืองระยองล�ำ ๑ พระอินทรักษาหา ได้ที่ ปลายน�้ำเมืองแกลงเมืองระยอง ล�ำ ๑ พระราชภักด สงคราม ผู้ว่าราชการเมืองระยอง หาได้มาด ๑๘ วาที่ป่า เมืองระยองล�ำ ๑ รวมทั้งมาดเส้นเป็น ๗ ล�ำ” เฮอร์เบิร์ต แวริงตัน สมิธ ระบุไว้ชัดเจนว่ามาด เส้นหรือไม้ตะเคียนที น ่ ำ � มาขุดเป็นเรือพระที น ่ ง ั่ แบบโบราณ ขนาดใหญ่ผ่านมาจากต้น น�้ำประแสคือ “เรือพระที่นั่ง อนันตนาคราช” นั่นเอง ตรงนี้ชัดเจนว่าเมืองแกลงนั้นเคยตั้งอยู่ที่ “คลอง แกลง” ซึ่งอยู่ ในเขตเมืองระยอง ต่อมาเมืองแกลงย้าย มาอยู่ริมน�้ำสาขาของล�ำน�้ำประแสที่บ้านดอนเค็จ วัด โพธิ ท ์ อง ซึ ง ่ ไกลจากชายฝั ง ่ ทะเลโดยวัดระยะทางตามล�ำน� ำ ้ ราว ๒๐ กิโลเมตร ไม่พบว่ามีเจ้าเมืองต�ำแหน่งและชื่อ ในท�ำเนียบขุนนางแต่อย่างใด ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในรัชกาล สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ยังไม่สามารถหาเหตุผลของการ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 21