เยี่ยมยามเมืองจันทบูร เมืองท่าอันมีพลวัตทางประวัติศาสตร์ต่อสยามประเทศ | Page 17
เถิดเจ้าล่ออยู่นอกเมืองสักพักว่า “ให้ทุบหม้อข้าวหม้อแกง
เสียให้สิ้น ต้องเข้าตีให้ส�ำเร็จสถานเดียว”
เมืองจันทบูรเป็นเมืองมีคูน�้ำคันดิน และอยู่ ใน
ชัยภูมิที่ ได้เปรียบบนที่เนินสูงกว่าบริเวณโดยรอบ อยู
ริมล�ำน�้ำท่าช้าง อันเป็นสาขาของล�ำน�้ำจันทบูร ปัจจุบัน
พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณค่ายตากสิน หน่วยนาวิกโยธิน
ของกองทัพเรือและน่าจะมีอาณาบริเวณนอกค่ายทหารมา
ทางฝั่งที่เป็นที่ตั้งของอาคารศาลากลางเก่า หน่วยราชการ
และสถานศึกษาไปจนจรดแนวที่วัดโบสถ์เมือง
พระเจ้าตากสินฯ พร้อมกองก�ำลังพลพรรคทั้ง
มวลบุกเข้าโจมตีเมืองจันทบูรจากจุดที เ ่ ป็นวัดแก้วซึ ง ่ อยู ร ่ ม ิ
ประตูท่าช้างทางตอนเหนือของเขตแนวคันดินรูปสี่เหลี่ยม
ผืนผ้าของจวนเจ้าเมืองจันทบูรไปราว ๓๐๐ เมตรในดึกคืน
นั น ้ แล้วยึดเมืองจันทบูรได้ ส่วนพระยาจันทบูรพาลูกเมียหน
ลงเรือเลียบชายฝั่งไปยังเมืองพุทไธมาศหรือเมืองฮ่าเตียน
ในประเทศเวียดนามปัจจุบัน
แล้วจึงไปตีเมืองตราดต่อโดยเอกสารในพระราช
พงศาวดาร ฉบับพันทนุมาศ (เจิม) กล่าวไว้อย่างสรุป
รวบรัดถึงการน�ำพลไปตีเมืองตราดโดยเดินทางบกจาก
เมืองจันทบูรสู่ทุ่งใหญ่ ซึ่งในแผนที่เก่าว่าอยู่บริเวณใกล
เขตเมืองขลุง และน่าจะเสด็จโดยทางเรือจากล�ำน� ำ ้ เวฬุแถบ
บ้านทุ ง ่ ใหญ่ไปที ท ่ า ่ ตะเภา ซึ ง ่ เป็นจุดจอดเรือส�ำเภาหลบลม
โดยมีเส้นทางน� ำ ้ เข้าที แ ่ ถบอ�ำเภอแหลมงอบในปัจจุบ น ั และ
คงพบกับจีนเจียมและกองเรือส�ำเภาของนายวานิชทั ง ้ หลาย
จากบ้านท่าตะเภาหรือท่าเรือส�ำเภาดังกล่าวมีเส้นทางน�้ำ
ภายในเข้าสู่คลองบางพระเมืองตราดอีกที มีต�ำนานเล่าว่า
เจ้าตากมาตั้งทัพอยู่ที่วัดโบสถ์หรือวัดโยธานิมิตในปัจจุบัน
โดยให้ก�ำลังพลขนมูลดินจนกลายเป็นวัดเกิดขึ้น แต่เมื่อ
ดูตามหลักฐานศาสนสถานและศิลปกรรมที่ปรากฏในวัด
โยธานิมิตพบว่าน่าจะเป็นสิ่งที่ก่อสร้างช่วงหลังโดยเฉพาะ
ในช่วงรัชกาลที่ ๓ ลงมา แล้วจึงมาพักอยู่ที่เมืองจันทบูร
อันเป็นช่วงฤดูมรสุมเพื่อต่อเรือไว้ใช้เป็นเรือโดยสารและ
เรือรบมุ่งกลับไปกู้กรุงศรีอยุธยา
เมื่อถึง “ฤดูลมตะเภาเดือนอ้าย” หรือเดือน
ธันวาคม จึงกลับไปกู บ ้ า ้ นกู เ ้ มืองที ก ่ รุงศรีอยุธยาโดยใช้เส้น
ทางเดินเรือเลียบชายฝั่งผ่าน สัตหีบ เกาะคราม เกาะสีชัง
นาเกลือ บางปลาสร้อย ไปยังปากแม่น�้ำเจ้าพระยา ต่อส
จนยึด “เมืองบางกอกหรือธนบุรี” คืนจากนายทองอิน
เจ้าเมืองธนบุรี ซึ่งพม่าตั้งไว้ แล้วเดินทางต่อไปตีค่าย
โพธิ์สามต้นจาก “นายทองสุก” นายกองมอญที่ทัพหลวง
พม่าแต่งตั้งเหลือไว้ให้เฝ้าค่ายโพธิ์สามต้นด้วยกองก�ำลัง
ไม่มากนัก พระเจ้าตากสินฯ สามารถกอบกู้กรุงศรีอยุธยา
จากการยึดครองได้ส�ำเร็จ ใช้เวลาราว ๗ เดือนนับแต่สิ้น
กรุงศรีอยุธยา
อนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ
ที่วงเวียนใหญ่ กรุงเทพมหานคร
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ
17