เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น ฯลฯ เที่ยวตามตำนาน เพชรบุรีที่ยังไม่เคยเห็น มหาเภตราฯ | Page 43

อโรคยศาลตามหัวเมืองต่างๆ และว่าบางแห่งอยู่ใน ภูมิภาคตะวันตก เช่น ที่สามชุก สระโกสินารายณ เมืองสิงห์ ราชบุรี และเพชรบุรี ฯลฯ แต่การวิเคราะห์ดังกล่าวไม่มีหลักฐาน สนับสนุนทั้งในเรื่องรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของ อโรคยศาลที ม ่ แ ี บบแผนแน่นอนตายตัวตามปราสาท หินหรือศาสนสถานในพื้นที่นั้น นอกจากอิทธิพล ทางศิลปกรรมความเชื่อการนับถือพุทธศาสนาแบบ มหายาน และทั ง ้ ไม่ม ข ี อ ้ มูลหลักฐานอิทธิพลทางการ เมืองที่น่าเชื่อว่าบ้านเมืองในแถบภาคกลางนี้ตกอยู ในอ�ำนาจทางการเมืองของเขมรโดยเด็ดขาดจนถึง กับต้องต่อสู้เพื่อเอกราชดังที่เคยเข้าใจกันมา หาก แต่มีความสัมพันธ์ด้วยการกินดองหรือแต่งงานเป็น เครือญาติร ว ่ มกับกษัตริย ผ ์ ป ้ ู กครองจากบ้านเมืองท มีความเข้มแข็งกว่าในช่วงเวลาสั น ้ ๆ ตามเวลาในการ ครองราชย์ ซึ ง ่ เป็นความสัมพันธ์ในระดับเครือญาต และอิทธิพลทางศาสนาและสังคมวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม การสร้างปราสาทแบบขอม ที่ ได้รับอิทธิพลจากศิลปะเนื่องในศาสนาพุทธแบบ มหายานทั ง ้ ที ป ่ ราสาทเมืองสิงห์ และที ว ่ ด ั ก�ำแพงแลง น่าจะรับผ่านมาจากเมืองลพบุรี จึงเรียกช่วงเวลาใน ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ ปราสาทก�ำแพงแลงที เ ่ พชรบุร ต ี ง ั้ อยู ห ่ า ่ งจาก ฝั่งแม่น�้ำทางตะวันออกราว ๑ กิโลเมตร ปราสาท ก่อด้วยศิลาแลงและท�ำศิลาแลงล้อมรอบ และมีปูน ปั น ้ ประดับ แต่เดิมเป็นโบราณสถานร้างเมื อ ่ สร้างวัด รุ่นใหม่จึงได้ชื่อว่าวัดเทพปราสาทศิลาแลง ผังของปราสาทวัดก�ำแพงแลงรูปสี่เหลี่ยม จัตุรัส หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ภายในก�ำแพง มีปราสาท ๔ องค์ ปราสาท ๓ องค์ทางด้านหน้า เรียงกันในแนวเหนือและใต้ โดยปราสาทประธาน มีขนาดสูงใหญ่กว่าอีก ๒ องค์ ส่วนปราสาทองค ที่ ๔ ตั้งอยู่ด้านหลังของปราสาทประธานทางทิศ ตะวันออก และมีซุ้มประตูทางเข้าหรือโคปุระ ๑ หลัง ยอดเป็นปราสาท และมีบันทึกว่าเคยมีสระน�้ำ กรุขอบอยู่ชิดขอบก�ำแพงทางทิศตะวันออก ศิลป สถาปัตยกรรมเนื่องในศาสนาพุทธแบบมหายานท วัดก�ำแพงแลง จังหวัดเพชรบุรี ได้รับอิทธิพลจาก การสร้างปราสาทพระขรรค์ และมีรูปแบบศิลปะ ทางพุทธศาสนาแบบมหายาน ในสมัยพระเจ้าชัย วรมันที่ ๗ พบประติมากรรมรูปพระโพธิส ต ั ว์โลเกศวร เปล่งรัศมี พระโพธิสัตว์โลเกศวรสี่กร พระวัชรสัตว นาคปรก นางปรัชญาปารมิตา ซึ่งทั้งหมดอยู่ ใน สภาพช�ำรุดและอยู่ในการครอบครองของเอกชน ซึ่งการเรียงตัวของปรางค์สามหลังคล้าย การวางผังที่พระปรางค์สามยอด ลพบุรี อยู่ ใน อิ ท ธิ พ ลของพุ ท ธศาสนาแบบมหายานรู ป แบบ เดี ย วกั น โดยประดิ ษ ฐานรู ป เคารพหลั ก ทั้ ง สาม ตามคติ พ ระตรั ย รั ต นมหายานแบบวั ช รยานใน รัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ แม้องค์ประกอบทาง สถาปัตยกรรมจะคล้ายคลึงกันในทุกสัดส่วน แต ปราสาทที่วัดก�ำแพงแลงเรือนธาตุและมุขที่ยื่นออก มาเท่านั้น ไม่มีส่วนของมณฑปและมุขกระสัน ท เชื่อมต่อห้องกลางปราสาทหรือเรือนธาตุตามแบบ ปราสาทเขมรทั่วไป ซึ่งเป็นธรรมดาของการรับ วัฒนธรรมจากแหล่งหนึ่งมาสู่บ้านเมืองที่ห่างไกล ที่จะมีการปรับรับหรือดัดแปลงไปตามสถานการณ หรือค่านิยมที่แตกต่างกัน วัดเพชรพลีหรือวัดพริบพร วัดเพชรพลีหรือวัดพริบพรีอยู่ในพื้นที่เมือง เก่าเดียวกับวัดก�ำแพงแลง ในบริเวณนี้น่าจะเป็น พื้นที่อยู่อาศัยและศูนย์กลางของเมืองมาตั้งแต่ราว พุทธศตวรรษที่ ๑๘ และ ๑๙ แต่ที่วัดพริบพรีใน ปัจจุบันไม่พบโบราณสถานหรือโบราณวัตถุที่มีอาย เก่าราววัดก�ำแพงแลงหรือต่อเนื่องมา เพียงแต่พบ ชิ้นส่วนสถาปัตยกรรมที่ท�ำจากศิลาแลง ระฆังหิน มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 43