สำรวจอโยธยากับอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม สำรวจอโยธยากับอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม | Page 9

เส้นทางการค้าบน East-West Corridor [เส้นทาง เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก] พื้นฐานแนวคิด การเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมและวั ฒ นธรรมของ นครรัฐแบบสหพันธรัฐทั ง ้ ภายในภาคพื น ้ และชายฝั ง ่ ทะเล อาจารย์ ศ รี ศั ก ร วั ล ลิ โ ภดม เห็ น ด้ ว ย กับ ศาสตราจารย์ โอ. ดับเบิลยู. วอลเตอร์ ท กล่าวว่า เหตุของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และการเมืองและการสิ้นสุดอ�ำนาจทางทะเลของ สหพั น ธรั ฐ ศรี วิ ชั ย ตามชายฝั ่ ง ซึ่ ง ร่ ว มสมั ย ของ สหพันธรัฐเมืองท่าทวารวดีบนผืนแผ่นดินใหญ่ ถูก ท�ำลายโดยการรุกรานของ “อาณาจักรโจฬะ” ชาว ทมิฬทางฝั่งตะวันออกของมหาสมุทรอินเดียหรือ ทางตอนใต้ของอินเดีย รัฐทางทะเลที่เป็นคนกลางผูกขาดสินค้า ที่มาจากดินแดนโพ้นทะเล จนท�ำให้มีความมั่งคั่ง ร�่ำรวยกว่ารัฐและอาณาจักรต่างๆ ในภูมิภาค เป็น เหตุให้จีนเลิกการค้าขายผ่านศรีวิชัย หันไปค้าขาย กับบ้านเล็กเมืองน้อยตามท้องถิ่นในภูมิภาค ท�ำให เกิดการรวมตัวของผู้คนในท้องถิ่นต่างๆ ก่อตั้งเป็น เมืองเป็นรัฐใหม่ๆ ขึ้น เพราะสอดคล้องกับการส�ำรวจศึกษาชุมชน เมืองโบราณ เพราะบรรดาบ้านเมืองใหญ่ๆ ที พ ่ ฒ นา ขึ้นเป็น “นครรัฐ” มักพบตามเส้นทางการคมนาคม ค้าขายแทบทั ง ้ สิ น ้ โดยเฉพาะบ้านเมืองและรัฐตั ง ้ แต สมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ เป็นต้นมา พัฒนาการของรัฐสุโขทัยซึ่งไม่เคยเกิดเป็น เมืองใหญ่ เป็นนครรัฐมาก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๘ แม้ว่าจะพบร่องรอยชุมชนในระดับบ้านและเมือง เล็กตามแหล่งทรัพยากรแร่ธาตุและของป่ามาแต สมัยก่อนทวารวดีและสมัยทวารวดีในแถบต้นน�้ำ แม่ล ำ � พันก็ตาม เส้นทางการค้าเหล่านี เ ้ กิดขึ น ้ ในช่วงปลายยุค เหล็กจนกระทั่งพุทธศตวรรษที่ ๑๗ จึงมีพัฒนาการ ของเส้นทางการค้าจากบ้านเมืองและรัฐทางเหนือใน ลุ่มน� ำ ้ ปิง วัง ยม น่านตอนบน ที่ม ร ี ัฐหริภุญชัยด�ำรง อยู่แต่สมัยทวารวดีลงมากับบ้านเมืองและรัฐใหญ ในลุ่มน�้ำเจ้าพระยาสมัยทวารวด เจดีย์ทรงแปดเหลี่ยม องค์ระฆังฐานสูง ที่วัดพระรูป สุพรรณบุร มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 9