สำรวจอโยธยากับอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม สำรวจอโยธยากับอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม | Page 5

กล่าวน�ำ การศึกษาอยุธยาของอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม ไม่ได้ศึกษาอยุธยาแบบนักโบราณคดีหรือนัก ประวัติศาสตร์ในกรอบที่เน้นเรื่องวัตถุหรือเอกสารแต่เพียงเท่านั้น แต่ได้ศึกษาเชิงมานุษ ยวิทยาและ ประวัติศาสตร์โบราณคดีที่เน้นเรื่องของภูมิศาสตร์ ศึกษาเกี่ยวกับถิ่นฐานบ้านเมือง [Culture Landscape] ท เห็นถึงพัฒนาการ เห็นถึงวิถีชีวิตของผู้คน งานศึกษาเรื่องอโยธยาของอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม มีมาเป็นล�ำดับ ต่อเนื่องจากงานของอาจารย มานิต วัลลิโภดม ผู้เป็นข้าราชการกรมศิลปากร ทั้งสองท่านมีความเห็นโดยสรุปที่แตกต่างไปจากความรับร เดิมที่ว่า สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาน�ำไพร่พลหนีโรคห่ามาจากเมืองอู่ทอง ซึ่งเป็น เมืองอัตคัดน�้ำเพราะล�ำน�้ำจรเข้สามพันเปลี่ยนทางเดิน โดยเห็นถึงหลักฐานร่องรอยจ�ำนวนมากที่มีอยู่แล้ว ในพื้นที่เมืองพระนครศรีอยุธยาก่อนช่วงเวลาการสถาปนากรุงในพุทธศตวรรษที่ ๑๙ อีกทั้ง “เมืองอู่ทอง” เมืองโบราณสมัยทวารวดีท ล ี่ ำ � น� ำ ้ จรเข้สามพันในจังหวัดสุพรรณบุร น ี น ั้ ก็ม อ ี ายุเก่าแก่เกินไปกว่ายุคสมัยพระเจ้า อู่ทองในช่วงนั้นมากนัก โดยงานที่ปรากฏครั้งล่าสุดในบทความเรื่อง “อโยธยาศรีรามเทพนคร” โดยอาจารย์ส ำ � รวจพื้นที่และ พิจารณาภาพถ่ายทางอากาศตลอดจนแผนที อ ่ ย่างละเอียด และให้ช า ่ งเขียนแห่งเมืองโบราณ คุณสุทธิช ย ั ฤทธ จตุพรชัย วาดภาพผังเมืองอโยธยาเป็นปกของวารสารเมืองโบราณปีที่ ๔๓ ฉบับที่ ๑ เดือนมกราคม-มีนาคม ๒๕๖๐ สาระส�ำคัญที เ ่ ป็นการน�ำเสนอข้อเสนอใหม่ครั ง ้ นี ค ้ อ ื การท�ำให้เห็นว่ามีเมืองโบราณรูปสี เ ่ หลี ย ่ มผืนผ้าอยู่ แล้วโดยความยาวและความกว้างของ “เมืองอโยธยา” โดยประมาณราว ๒ กิโลเมตร และ ๑ กิโลเมตรตาม ล�ำดับ ซึ่งมีขนาดไล่เลี่ยกับ “เมืองราชบุรี” และ “เมืองสุพรรณภูมิ” ถือเป็นข้อเสนอครั้งแรกในการท�ำให้เห็น ว่ามีเมืองอโยธยาตั้งอยู่ริมล�ำน� ำ ้ ป่าสักเดิมก่อนที่จะมีการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมของเส้นทางน�้ำหลายสาย จนกลายเป็นกรุงศรีอยุธยา เมืองที ม ่ ล ี ำ � น� ำ ้ สายใหญ่ล อ ้ มรอบ และเป็นการท�ำให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรมครั ง ้ แรก นับจากเริ ม ่ มีการยอมรับว่ามีช ม ุ ชนสมัยก่อนกรุงศรีอยุธยาอยู แ ่ ล้วในบริเวณฝั ง ่ ตะวันออกของเกาะเมืองจากรูป แบบศิลปกรรมของพระพุทธรูปแบบอู ท ่ อง พระเจดีย แ ์ บบอโยธยาที เ ่ ป็นรูปแปดเหลี ย ่ มฐานสูง หรือการตีความ ในพระราชพงศาวดารและเอกสารต่างๆ อโยธยาศรีรามเทพนคร ชื่อนี้ปรากฏสืบมาจากจารึกกรุงสุโขทัย ๒ หลัก คือ จารึกหลักที่ ๒ วัดศรีชุม ที่กล่าวถึง “ศรีรามเทพนคร” และจารึกหลักที่ ๑๑ วัดเขากบ ที่กล่าวถึงทั้งสองนามคือ “อโยธยาศรีรามเทพ นคร” การเดินทางกับอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดมและมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ครั้งนี้ คือการน�ำท่านไป ศึกษาพื้นที่เพื่อแนะน�ำให้รู้จักเมืองดั้งเดิมรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นก่อนการสถาปนากรุง ศรีอยุธยาจากการปรับเปลี่ยนล�ำน�้ำเส้นสายต่างๆ เพื่อจะได้ทราบหลักฐานร่องรอยที่ปรากฏและยังจะได้รับร ข้อมูลพื น ้ ฐานว่าท�ำไมจึงเกิดบ้านเมือง เช่น อโยธยาศรีรามเทพนครและต่อมาจึงพัฒนากลายเป็นกรุงศรีอยุธยา ในช่วงเวลานั้น วลัยลักษณ์ ทรงศิร ๒๒ กันยายน ๒๕๖๒ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ 5