สารัตถะวิจัย ปี3 E-Book สารัตถะ ปี3 | Page 9

8 สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่: นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน ผลการวิเคราะห์ปัจจัยเงื่อนไขของความส�ำเร็จหรือความไม่ส�ำเร็จ ด้านการบริหาร จัดการการวิจัยและด้านการวิจัยเพื่อตอบโจทย์ของพื้นท เมื่อท�ำการวิเคราะห์ปัจจัยเงื่อนไขของความส�ำเร็จหรือความไม่ส�ำเร็จจากการ ด�ำเนินการโครงการ สามารถสรุปเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญอยู่ 3 ด้าน ดังน 1. ปัจจัยน�ำเข้า (Input) เมื่อพิจารณาปัจจัยที่เป็นตัวป้อนหรือปัจจัยน�ำเข้า พบว่า มีปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความส�ำเร็จหรือความไม่ส�ำเร็จ 1.1 ปัจจัยด้านนักวิจัยและทีมวิจัย ความรู้และประสบการณ์ ความทุ่มเท และความพร้อมในการเรียนรู้ในการท�ำงานเชิงพื้นที่ของตัวนักวิจัยถือว่าเป็นทุนที่ส�ำคัญ ที่ จ ะท� ำ ให้ เ กิ ด การขั บ เคลื่ อ นงานวิ จั ย เชิ ง พื้ น ที่ มี โ อกาสที่ จ ะเกิ ด ความส� ำ เร็ จ ได้ ม าก การเตรียมทีมวิจัยระดับคณะ กล่าวคือ การพัฒนาโจทย์วิจัยตามความต้องการของชุมชน และการสร้างทีมวิจัยที่มาจากกลุ่มคนที่ใฝ่การเรียนรู้ นอกจากนั้นยังรวมถึงการท�ำ ความเข้าใจในแนวคิดและกระบวนการวิจ ย ั เพื อ ่ ท้องถิ น ่ ร่วมกับชุมชน ตั ง ้ แต่เริ ม ่ ต้นวิเคราะห ปัญหา พัฒนาโจทย์วิจัย การสร้างการมีส่วนร่วมจากทีมวิจัยจากหลากหลายสาขา หลากหลายกลุ่มคน หลากหลายบทบาทหน้าที่ การเตรียมทีมและการจัดแบ่งบทบาท การท�ำงาน การวางแผนการวิจัย การก�ำหนดเป้าหมายและทิศทางการท�ำงานร่วมกัน ที่ชัดเจน ตลอดจนถึงการท�ำสัญญารับทุนอุดหนุนการวิจัย 1.2 ปัจจัยด้านงบประมาณ กระบวนการท�ำงานวิจ ย ั เชิงพื น ้ ที น ่ อกจากจะต้อง อาศัยทีมวิจัยที่ดีแล้ว ต้องมีงบประมาณหรือทุนวิจัยในการด�ำเนินการที่เหมาะสมและ เพียงพอ และมีระบบสนับสนุนงบประมาณที่มีความคล่องตัว สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา