สารัตถะวิจัย ปี3 E-Book สารัตถะ ปี3 | Page 80

สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่: นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน การพัฒนาการบริหารจัดการความเสี่ยง ของภาคการเกษตรบนพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง วรัชยา เชื้อจันทึก 1 , พัชรินทร์ วิทยาเอนกนันท์ 2 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา E-mail : [email protected] เบอร์โทรศัพท์ : 081-7306561 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาองค์ประกอบความเสี่ยงของภาคการเกษตรบนพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง 2. เพื่อจัดท�ำแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงของภาคการเกษตรบนพื้นที่เสี่ยง ภัยแล้ง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหลังการด�ำเนินการวิจัย (เปรียบเทียบ ก่อน-หลัง) การวิจัย ก่อนด�ำเนินการวิจัย หลังด�ำเนินการวิจัย การบริ ห ารจั ด การ ความเสี่ ย งของภาค การเกษตรบนพื้ น ท เสี่ยงภัยแล้ง ภั ย แล้ ง ท� ำ ให้ เ กิ ด สภาวะ ขาดแคลนน�้ำส่งผลกระทบ ค่ อ นข้ า งรุ น แรงต่ อ ภาค การเกษตร ท�ำให้พ น ื้ ที เ ่ พาะ ปลู ก ข้ า วนาปรั ง ลดลง ผลผลิตข้าวเปลือกนาปรังม ปริมาณลดลง ซึ่งจะส่งผล ต่อการส่งออกข้าวฤดูใหม นอกจากนี้ภัยแล้งอาจเกิด ต่ อ เนื่ อ งเมื่ อ ปริ ม าณน�้ ำ ต้ น ทุ น ส� ำ หรั บ การเพาะ ปลูกอยู่ในระดับต�่ำและไม เพียงพอต่อการเพาะปลูก ข้ า วในฤดู ถั ด ไป จาก 1. ทราบถึงองค์ประกอบความ เสี ย ่ งของภาคการ เกษตรบนพื น ้ ที เสี่ยงภัยแล้ง ประกอบด้วย 1.1 ความเปราะบาง จาก สถานการณ์ภัยแล้ง แบ่งได้เป็น 1) ความเปราะบางทางกายภาพ ได้ แ ก่ สภาพที่ ตั้ ง ชุ ม ชนไม่ มี สายน� ำ ้ ไหลผ่าน ขาดแหล่งน� ำ ดิน เค็ ม พื้ น ที่ เ พาะปลู ก นอกเขต ชลประทาน การเพาะปลู ก บริเวณพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง และ ท้องถิ่นขาดศักยภาพที่จะไปท�ำ แหล่งกักเก็บน�้ำ 2) ความเปราะ บางทางสังคม ได้แก่ การเข้าไม Research and Development Institute Nakhon Ratchasima Rajabhat University 79