สารัตถะวิจัย ปี3 E-Book สารัตถะ ปี3 | Page 8

สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่: นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาระบบบริหารจัดการและกลไก การขับเคลื่อนงานวิจัยและพัฒนาพื้นท ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ชคัตตรัย รยะสวัสดิ์ และคณะ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา E-mail : [email protected] เบอร์โทรศัพท์ : 044-272941 การบริ ห ารจั ด การและกลไกการขั บ เคลื่ อ นงานวิ จั ย และพั ฒ นาพื้ น ที่ ข อง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาภายใต้โครงการนวัตกรรมเพื อ ่ การพัฒนาพื น ้ ที ห ่ นุนเสริม ขีดความสามารถภาคการเกษตรและยกระดับเศรษฐกิจฐานรากในจังหวัดนครราชสีมา ได้ยกระดับการจัดการบริหารงานวิจัย ซึ่งใช้กระบวนการประชุมและการมีส่วนร่วม กระบวนการจัดการความรู ท ้ ง ั้ ระหว่างหน่วยระดับมหาวิทยาลัย ระหว่างคณะและนักวิจ ย ั ระหว่างนักวิจัยพี่เลี้ยงและนักวิจัยรุ่นใหม่ มีการประชุมปฏิบัติการเพื่อพัฒนานักวิจัย พัฒนานักบริหารจัดการงานวิจัยตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง มีระบบพี่เลี้ยง นักวิจ ย ั มีระบบคลิน ก ิ วิจ ย ั ให้ค ำ � ปรึกษา (Coaching) เป็นรายโครงการ โดยการด�ำเนินงาน ทั้ง 3 ระยะ ใช้กระบวนการพัฒนาตามวงจร PDCA โดยมีการออกแบบระบบบริหารจัดการงานวิจ ย ั เชิงพื น ้ ที บ ่ นฐานข้อมูลสถานการณ ของระบบบริหารจัดการ เพื อ ่ พัฒนาระบบพัฒนาโจทย์ว จ ิ ย ั ระบบพัฒนาข้อเสนอโครงการ วิจัย ระบบติดตามหรือสนับสนุน ระบบเผยแพร่สู่การใช้ประโยชน์ ซึ่งกระบวนการนี้ มีระบบสนับสนุนเกี่ยวกับแรงจูงใจ ฐานข้อมูลวิจัย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) เพื่อให เกิดกระบวนการดังกล่าวขับเคลื่อนไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ คณาจารย์นักวิจัยมีความ ตื่นตัวในการด�ำเนินวิจัยเชิงพื้นที่เพิ่มขึ้น ซึ่งในระยะที่ 2-3 มหาวิทยาลัยได้มีการร่วม ทุนวิจ ย ั (Matching Funding) กับหน่วยงานผู ใ ้ ช้ประโยชน์จากงานวิจ ย ั นอกจากนี ผ ้ บ ้ ู ริหาร สูงสุดของหน่วยงานเป็นหัวหน้าโครงการวิจ ย ั ท�ำให้ตระหนักและเล็งเห็นความส�ำคัญในการ ขับเคลื่อนงานวิจัยเชิงพื้นที่ยิ่งขึ้น Research and Development Institute Nakhon Ratchasima Rajabhat University 7