สารัตถะวิจัย ปี3 E-Book สารัตถะ ปี3 | Page 73

72 สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่: นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน วิจัยและพัฒนาเครื่องฝานกล้วยเบรกแตก เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการผลิต ฤทธิรงค์ แจ้งอิ่ม 1 , ปราณี เท่ากลาง 2 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา E-mail : [email protected] เบอร์โทรศัพท์ : 089-2425106 วัตถุประสงค 1. ศึกษากระบวนการผลิตกล้วยเบรกแตก 2. เพื่อออกแบบและพัฒนาเครื่องฝานกล้วยน�้ำว้าสุก การเปลี ย ่ นแปลงที เ ่ กิดขึ น ้ หลังการด�ำเนินการวิจ ย ั (เปรียบเทียบ ก่อน-หลัง) การวิจัย 1.ข้ อ มู ล บริ บ ทกลุ ่ ม แม่ บ ้ า น เ ก ษ ต ร ก ร เ ท ว า สุ ข สั น ต ์ ต.หนองกราด อ.ด่ า นขุ น ทด จ.นครราชสีมา 2. ข้อมูลสภาพปัญหาของกลุ่ม มีปัญหาด้านคุณภาพของการ แ ป ร รู ป วั ต ถุ ดิ บ ก ่ อ น เ ข ้ า กระบวนการต่อไปไม่ได้ตาม ความต้ อ งการซึ่ ง ส่ ง ผลต่ อ คุณภาพผลิตภัณฑ์ และก�ำลัง การผลิตไม่เพียงพอกับความ ต้องการ ก่อนด�ำเนินการวิจัย - - สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา หลังด�ำเนินการวิจัย ได้ ข ้ อ มู ล บริ บ ทกลุ ่ ม อาชี พ ใน การรวมเพื่อท�ำกิจกรรมให้เกิด รายได้หลังจากการท�ำไร่ท�ำนา เพื่อเป็นอาชีพเสริม ได้ข้อมูลสภาพปัญหาของกลุ่ม อาชีพ โดยปัญหาเกิดจากเครื อ ่ ง มือที่ใช้ในการผลิตที่จ�ำเป็นต้อง ใช้ ค วามช� ำ นาญในการกดลู ก กล้วย จึงท�ำให้ความหนาของ แผ่นกล้วยมีขนาดความหนาไม เท่ากันเมื่อน�ำไปทอดจึงสุกไม เท่ากัน ชิ้นที่บางกว่าก็จะไหม ท�ำให้ต้องมานั่งคัดแยกอีกครั้ง ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น และผลิตไม่ท น ั กับความต้องการ