สารัตถะวิจัย ปี3 E-Book สารัตถะ ปี3 | Page 57

56 สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่ : นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน
การบูรณาการกับพันธกิจมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
1 . ด้านการเรียนการสอน ใช้งานวิจัยเป็นประเด็นในศึกษาในรายวิชาการพัฒนา ธุรกิจเพื่อสังคม โดยแบ่งกลุ่มให้นักศึกษา จ�ำนวน 160 คน วิเคราะห์ถึงความส�ำคัญของ การท�ำนาในรูปแบบอินทรีย์ ระบุองค์ประกอบของการพัฒนาธุรกิจเพื่อความยั่งยืน ในด้านสังคม และสิ่งแวดล้อมได้ทั้งปัจจุบันและอนาคต
2 . ด้านบริการวิชาการ งานวิจัยนี้มุ ่งเน้นเพื่อศึกษาแนวทางการสร้างสรรค์คุณค่า ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของเกษตรกรรายย่อย เพื่อสนับสนุนองค์ความรู้ทางด้านวิชาการ ให้สามารถยกระดับมูลค่าข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของเกษตรกรรายย่อยได้ และตอบสนอง โนบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ในส่วนของการเป็นที่พึ ่งของชุมชนได้มากขึ ้น
3 . ด้านท�ำนุบ�ำรุง งานวิจัยนี้ศึกษาจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทางตรงและทางอ้อม ทุกภาคส่วนเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาร่วมกัน ท�ำให้ทุกฝ่ายสามารถอยู่รอดและได้รับ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกษตรกรผู้ซึ่งประสบปัญหาอย่างต่อเนื่อง ให้สามารถอยู่รอดได้
4 . ด้านการวิจัย พัฒนาให้เกิดนักวิจัยรุ่นใหม่ที่ตระหนักและมุ่งเน้นท�ำการวิจัย โดยค�ำนึงถึงความต้องการของพื้นที่ สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู ้เพื่อท�ำการวิจัยในการ พัฒนาท้องถิ่นให้เกิดความเข้มแข็งต่อไป
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
56 สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่: นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน การบูรณาการกับพันธกิจมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 1. ด า ้ นการเรียนการสอน ใช้งานวิจ ย ั เป็นประเด็นในศึกษาในรายวิชาการพัฒนา ธุรกิจเพื่อสังคม โดยแบ่งกลุ่มให้นักศึกษา จ�ำนวน 160 คน วิเคราะห์ถึงความส�ำคัญของ การท�ำนาในรูปแบบอินทรีย์ ระบุองค์ประกอบของการพัฒนาธุรกิจเพื่อความยั่งยืน ในด้านสังคม และสิ่งแวดล้อมได้ทั้งปัจจุบันและอนาคต 2. ด า ้ นบริการวิชาการ งานวิจ ย ั นี ม ้ ง ่ ุ เน้นเพื อ ่ ศึกษาแนวทางการสร้างสรรค์ค ณ ค่า ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของเกษตรกรรายย่อย เพื่� �สนับสนุนองค์ความรู้ทางด้านวิชาการ ให้สามารถยกระดับมูลค่าข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของเกษตรกรรายย่อยได้ และตอบสนอง โนบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ในส่วนของการเป็นที พ ่ ง ่ ึ ของชุมชนได้มากขึ น ้ 3. ด้านท�ำนุบ�ำรุง งานวิจัยนี้ศึกษาจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทางตรงและทางอ้อม ทุกภาคส่วนเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาร่วมกัน ท�ำให้ทุกฝ่ายสามารถอยู่รอดและได้รับ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกษตรกรผู้ซึ่งประสบปัญหาอย่างต่อเนื่อง ให้สามารถอยู่รอดได 4. ด้านการวิจัย พัฒนาให้เกิดนักวิจัยรุ่นใหม่ที่ตระหนักและมุ่งเน้นท�ำการวิจัย โดยค�ำนึงถึงความต้องการของพื น ้ ที่ สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู เ ้ พื อ ่ ท�ำการวิจ ย ั ในการ พัฒนาท้องถิ่นให้เกิดความเข้มแข็งต่อไป สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา