สารัตถะวิจัย ปี3 E-Book สารัตถะ ปี3 | Page 45

44 สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่ : นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน
การวิจัย
ก่อนด�ำเนินการวิจัย
หลังด�ำเนินการวิจัย
ยังประสบปัญหาเกี่ยวกับ การจัดส่งข้อมูลแหล่งน�้ำ และการจัดท�ำรูปแบบของ ฐานข้อมูล เพื่อให้สะดวก แก่การน�ำไปใช้วิเคราะห์ และแปลผลสถานการณ์ แหล่งน�้ำเผยแพร่ให้กับ ประชาชนได้ทราบอย่าง รวดเร็วและเหมาะสม
สนับสนุนเกษตรกรที่ท�ำการเกษตร รวมถึงควรให้กลุ
่มผู
้เกี่ยวข้องกับการ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน�้ำมีส่วน ร่วมในการแลกเปลี่ยนข่าวสารไปยัง ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้ท�ำหน้าที่ในการ สนับสนุนด้านทรัพยากรน�้ำได้รับรู้ รับทราบข้อมูล อีกทั้งข้อมูลด้าน แหล่งน�้ำควรน�ำเสนอข้อมูลให้อยู
่ใน รูปแบบที่เข้าใจได้ง่าย โดยใช้แผนที่ ภูมิสารสนเทศระบุต�ำแหน่งของ แหล่งเก็บกักน�้ำ หรือใช้ค่าระดับสี ต่างๆ เพื่อแสดงถึงภาวะวิกฤตของ ปริมาณน�้ำในแหล่งเก็บกักน�้ำ ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาฐานข้อมูล และระบบเตือนภัยแหล่งน�้ำ จาก การศึกษาพบว่า องค์ประกอบของ ระบบเตือนภัยแหล่งน�้ำจากฐาน ข้อมูลของส�ำนักงานชลประทานที่ 8 นครราชสีมา ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนโครงสร้างพื้นฐานการให้ บริการสารสนเทศ ได้แก่ เจ้าที่หน้า ส�ำนักงานชลประทานที่ 8 คอมพิวเตอร์แม่ข่ายส�ำหรับให้ บริการฐานข้อมูลสารสนเทศ และผู้ ใช้ข้อมูลแหล่งน�้ำ โดยเจ้าหน้าที่ ส�ำนักงานมีบทบาทหน้าที่ในการส่ง ข้อมูลการบริหารจัดการทรัพยากร
น�้ำเข้าสู่ระบบผ่านทางเว็บไซต์
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
44 สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่: นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน การวิจัย ก่อนด�ำเนินการวิจัย ยังประสบปัญหาเกี่ยวกับ การจัดส่งข้อมูลแหล่งน�้ำ และการจัดท�ำรูปแบบของ ฐานข้อมูล เพื่อให้สะดวก แก่การน�ำไปใช้วิเคราะห และแปลผลสถานการณ แหล่ ง น�้ ำ เผยแพร่ ใ ห้ กั บ ประชาชนได้ทราบอย่าง รวดเร็วและเหมาะสม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา หลังด�ำเนินการวิจัย สนับสนุนเกษตรกรที่ท�ำการเกษตร รวมถึงควรให้กลุ ม ่ ผู เ ้ กี ย ่ วข้องกับการ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน� ำ ้ มีส ว ่ น ร่วมในการแลกเปลี ย ่ นข่าวสารไปยัง ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้ท�ำหน้าที่ในการ สนับสนุนด้านทรัพยากรน�้ำได้รับรู รับ ทราบข้ อ มู ล อี ก ทั้ ง ข้ อ มู ล ด้ า น แหล่งน� ำ ้ ควรน�ำเสนอข้อมูลให้อยู ใ ่ น รูปแบบที่เข้าใจได้ง่าย โดยใช้แผนท ภู มิ ส ารสนเทศระบุ ต� ำ แหน่ ง ของ แหล่งเก็บกักน�้ำ หรือใช้ค่าระดับส ต่างๆ เพื่อแสดงถึงภาวะวิกฤตของ ปริ ม าณน�้ ำ ในแหล่ ง เก็ บ กั ก น�้ ำ ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาฐานข้อมูล และระบบเตือนภัยแหล่งน�้ำ จาก การศึกษาพบว่า องค์ประกอบของ ระบบเ� ��ื อ นภั ย แหล่ ง น�้ ำ จากฐาน ข้อมูลของส�ำนักงานชลประทานที่ 8 นครราชสีมา ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนโครงสร้างพื้นฐานการให บริการสารสนเทศ ได้แก่ เจ้าที่หน้า ส� ำ นั ก ง า น ช ล ป ร ะ ท า น ที่ 8 คอมพิ ว เตอร์ แ ม่ ข ่ า ยส� ำ หรั บ ให บริการฐานข้อมูลสารสนเทศ และผ ใช้ข้อมูล แหล่ ง น�้ ำ โดยเจ้ า หน้ า ที ส�ำนักงานมีบทบาทหน้าที่ในการส่ง ข้อมูลการบริหารจัดการทรัพยากร น�้ ำ เข้ า สู ่ ร ะบบผ่ า นทางเว็ บ ไซต์