สารัตถะวิจัย ปี3 E-Book สารัตถะ ปี3 | Page 43

42 สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่: นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน การวิจัย ก่อนด�ำเนินการวิจัย หลังด�ำเนินการวิจัย ขึ้ น โดยข้ อ มู ล ที่ น� ำ เข้ า ประกอบด้วย ข้อมูลด้าน การเกษตรและด้ า นการ พาณิชย์ ซึ่งรัฐบาลจ�ำเป็น ต้ อ งน� ำ มาวิ เ คราะห์ ถึ ง ความสมดุ ล ของการใช ทรัพยากรผลิต ได้แก่ ดิน น�้ำ และพืช ดังนั้นส�ำนัก ชลประทานที่ 8 จังหวัด นครราชสี ม าในฐานะ องค์กรที ม ่ ห ี น้าที ใ ่ นการจัด เ ต รี ย ม แ ล ะ ว า ง แ ผ น สนั บ สนุ น การใช้ น�้ ำ ของ ประชาชนในเขตพื้นที่ ให มี ค วามเพี ย งพอต่ อ การ อุปโภค บริโภค และการ ผลิตพืชผลทางเกษตรให สอดคล้ อ งตามสภาพ การณ์ ป ั จ จุ บั น จึ ง ต้ อ งม การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล สภาพ การณ์แหล่งน�้ำ และจัดท�ำ ระบบแจ้งเตือนภัยแหล่ง น�้ ำ ให้ กั บ ประชาชนได ทราบอย่างต่อเนื่อง โดย จัดท�ำฐานข้อมูลเพื่อการ วิเคราะห์ปริมาณน�้ำ และ สามารถคาดการณ์ ไ ปสู การผลิตพืชผลทางเกษตร ผู้เกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพยากรน�้ำ การวิจ ย ั แบ่งขั น ้ ตอนด�ำเนินงานออก เป็น 3 ขั้นตอน และได้ผลการวิจัย เป็นดังน ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพการณ และความต้องการข้อมูลเกี่ยวกับ ทรัพยากรน�้ำ ซึ่งจากการศึกษาโดย ใช้ วิ ธี ส นทนากลุ ่ ม ผู ้ คุ ณ วุ ฒิ โดย ตั้ ง ประเด็ น ข้ อ ค� ำ ถามให้ เ กิ ด การ แลกเปลี่ยนใน 3 ประเด็น ได้แก ลักษณะการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท เคลื อ ่ นที แ ่ บบสมาร์ทโฟนในปัจจุบ น ั การใช้ประโยชน์ข อ ้ มูลทรัพยากรน� ำ ้ จากฐานข้อมูลของส�ำนักชลประทาน ที่ 8 นครราชสี ม า และลั ก ษณะ การน�ำเสนอข้อมูลทรัพยากรน� ำ ้ ผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบสมาร์ทโฟน ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มผู้เกี่ยวข้อง กับการใช้ทรัพยากรน�้ำจากองค์กร ต่าง ๆ ของภาครัฐส่วนใหญ่มีความ พร้อมในการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท เคลื่อนที่แบบสมาร์ทโฟนมากกว่า กลุ ่ ม เกษตรกร ซึ่ ง ถื อ เป็ น กลุ ่ ม เป้าหมายหลักในการใช้ประโยชน จากระบบเตือนภัยแหล่งน�้ำ ทั้งนี ้ สืบเนื อ ่ งจากกลุ ม ่ เกษตรกรส่วนใหญ อยู่ในกลุ่มผู้สูงวัยที่ไม่เคยได้รับการ ส่งเสริมความรู้ทางด้านเทคโนโลย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา