สารัตถะวิจัย ปี3 E-Book สารัตถะ ปี3 | Page 30

สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่: นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน การวิจัย 5 . ส ม า ชิ ก ส ห ก ร ณ การเกษตรมี ส ่ ว นร่ ว มใน กระบวนการพั ฒ นารู ป แบบการจั ด ท� ำ บั ญ ชี ค รั ว เรือนเพื่อเพิ่มรายได้ ลด รายจ่าย 6. การรับทราบของประธาน สหกรณ์การเกษตรเพื่อเป็น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร พั ฒ น า นโยบายการด�ำเนินงานของ สหกรณ์การเกษตรต่อไป ก่อนด�ำเนินการวิจัย ชุมชนมีส่วนร่วมน้อย ส่วนใหญ่จะเป็นการนัด ป ร ะ ชุ ม ทั่ ว ไ ป ข อ ง สมาชิ ก สหกรณ์ ก าร เกษตรโนนสูง หลังด�ำเนินการวิจัย ท� ำ ให้ ส มาชิ ก สหกรณ์ ก าร เกษตรมีส ว ่ นร่วมในกระบวนการ พัฒนารูปแบบการจัดท�ำบัญช ครั ว เรื อ นเพื่ อ เพิ่ ม รายได้ ลดรายจ่าย และตระหนักถึง การได้ประโยชน์จากการมีส ว ่ น ร่วมมากขึ้น คณะผู้วิจัยได้น�ำเสนอผลงาน วิ จั ย แก่ ค ณะผู ้ บ ริ ห ารของ สหกรณ์การเกษตรโนนสูง ตาม วัตถุประสงค์งานวิจัย เพื่อเป็น แนวทางในการพัฒนานโยบาย การด� ำ เนิ น งานของสหกรณ การเกษตรต่อไป การบูรณาการกับพันธกิจมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 1. ด้านการเรียนการสอน ใช้ประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาการวางแผน การเงินส่วนบุคคล (303406) ของหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการเงินและ การธนาคาร จ�ำนวน 55 คน โดยได้น�ำผลการวิจัยไปใช้ในการเรียนการสอนเรื่องหลัก เศรษฐกิจพอเพียงโดยการใช้เครื อ ่ งมือการท�ำบัญชีครัวเรือน เพื อ ่ วางแผนการเงินในแต่ละ บุคคล 2. ด้านบริการวิชาการ จากการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่ ท�ำให้ทราบว่าสมาชิก สหกรณ์การเกษตรยังขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการจัดท�ำบัญชีครัวเรือน คณะผู้วิจัย จึงได้จัดกิจกรรมอบรมเพื่อเสริมความรู้ในการจัดท�ำบัญชีครัวเรือนให้กับสมาชิกสหกรณ การเกษตร โดยมีน ก ั ศึกษาทางหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการเงินและการธนาคาร ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาการวางแผนการเงินส่วนบุคคลเข้าร่วมกิจกรรมนี้ด้วย Research and Development Institute Nakhon Ratchasima Rajabhat University 29