สารัตถะวิจัย ปี3 E-Book สารัตถะ ปี3 | Page 16

สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่ : นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน
15
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหลังการด�ำเนินการวิจัย ( เปรียบเทียบ ก่อน-หลัง )
การวิจัย
ก่อนด�ำเนินการวิจัย
หลังด�ำเนินการวิจัย
การสร้างองค์ความรู้
ปัจจุบันจังหวัดนครราชสีมายังคง มีพื้นที่ที่ประสบปัญหาน�้ำท่วม
1 . ได้ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ ที่ถูกต้องและเหมาะสมใน
บ่อยและภัยแล้งซ�้ำซากอย่าง
การบริหารจัดการเพื่อ
ต่อเนื่อง และยาวนานเป็นประจ�ำ ทุกปี โดยมีลักษณะลมฟ้าอากาศ ที่ไม่สามารถคาดเดาได้ อาจจะมี ความชื้นสัมพัทธ์ต�่ำ อาจจะมี ปริมาณฝนตกมากน้อยในปริมาณ ที่แตกต่างกัน บางครั้งก็มามาก เกิน บางวันก็ปัญหาน�้ำท่วมบ่อย และภัยแล้งซ�้ำซากมีฝนทิ้งช่วง
เสริมขีดความสามารถ ภาคการเกษตรและยก ระดับคุณภาพชีวิตใน จังหวัดนครราชสีมา ด้วยเทคโนโลยีระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ อย่างมีประสิทธิภาพ 2 . ผลการวิเคราะห์และ
เป็นระยะ แหล่งน�้ำธรรมชาติต่างๆ
สังเคราะห์การใช้
มีสภาพตื้นเขินไม่สามารถกักเก็บ
ประโยชน์ที่ดินด้วยระบบ
น�้ำได้ ประกอบกับลักษณะทาง
สารสนเทศภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ของจังหวัดนครราชสีมา เป็นที่ราบสูง ล้อมรอบด้วยภูเขา
สามารถน�ำฐานข้อมูลไป วิเคราะห์ ร่วมกับชั้นข้อมูล
พื้นที่มีความลาดชันปานกลาง
ด้านอื่นๆ ในพื้นที่จังหวัด
และมีการบุกรุกตัดไม้ท�ำลายป่า
นครราชสีมา รวมทั้งฐาน
ท�ำให้สภาพป่าไม่สามารถดูดซับ น�้ำไว้ได้ทัน ขาดแหล่งน�้ำหรืออ่าง เก็บกักน�้ำ ที่ช่วยชะลอการไหล ของน�้ำ จึงท�ำให้ประชาชน ขาดแคลนน�้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และน�้ำเพื่อการเกษตร พืช
ข้อมูลและผลการศึกษา จะเป็นประโยชน์กับหน่วย ในจังหวัดนครราชสีมา เช่น กรมส่งเสริมการ เกษตร ยุทธศาสตร์จังหวัด ส�ำนักงานป้องกันและ
ผลทางการเกษตรได้รับความ
บรรเทาสาธารภัย ส�ำนักงาน
เสียหาย รวมทั้งสัตว์เลี้ยงได้รับ
เกษตรจังหวัดนครราชสีมา
ผลกระทบ สร้างความสูญเสียให้ แก่ประชาชนผู้ประสบภัยเป็น
กรมพัฒนาที่ดิน องค์กร เอกชนและหน่วยงาน
Research and Development Institute Nakhon Ratchasima Rajabhat University