สารัตถะวิจัย ปี3 E-Book สารัตถะ ปี3 | Page 55

54 สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่: นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน
การวิจัย ก่อนด�ำเนินการวิจัย หลังด�ำเนินการวิจัย
ขายได้ในราคาที่ใกล้เคียง กับข้าวหอมมะลิที่ใช้วิธีปลูก แบบปกติ
รองรับได้ รวมถึงยังถูกกด ราคาจากพ่อค้าคนกลาง และโรงสี จึงมีความต้องการ สร้างสรรค์คุณค่าในส่วน บรรจุภัณฑ์ที่สามารถตอบ โจทย์ลูกค้าที่รักสุขภาพ เพื่อให้เข้าถึงลูกค้าเฉพาะ กลุ่มได้มากขึ้น นอกเหนือ จากการขายแบบบรรจุถุง สูญญากาศขนาด 1 กิโลกรัม แบบเดิม
2. ก�ำหนดแนวทางการ สร้างสรรค์คุณค่าข้าวหอม มะลิอินทรีย์ของเกษตรกร รายย่อยพื้นที่ อ�ำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
ก่อนด�ำเนินการก�ำหนด แนวทางการสร้างสรรค์ คุณค่าข้าวหอมมะลิอินทรีย์ มีบรรจุภัณฑ์เพียงขนาด เดียวคือ แบบบรรจุถุงสูญ ญากาศที่ไม่มีรายละเอียด ของผลิตภัณฑ์และโลโก้ สินค้าที่สื่อสารถึงข้าวหอม มะลิอินทรีย์ ท�ำให้การ จ�ำหน่ายยังได้ราคาใกล้เคียง กับข้าวหอมมะลิทั่วไป รวมถึงการตลาดยังไม่สามารถ เจาะกลุ ่มลูกค้าที่รักสุขภาพ ได้
หลังการก�ำหนดแนวทางการ สร้างสรรค์คุณค่า ด้วย กระบวนการวิจัยแบบมี ส่วนร่วมระหว่างผู้วิจัย เกษตรกรผู้ร่วมวิจัย และ เจ้าหน้าที่จากภาครัฐ ท�ำให้ เกิดแนวทางที่ชัดเจนในการ สร้างสรรค์คุณค่าข้าวหอม มะลิอินทรีย์ของเกษตรกร รายย่อย ในเขตพื้นที่อ�ำเภอ พิมาย จังหวัดนครราชสีมา โดยเริ่มจากการพัฒนา รูปแบบบรรจุภัณฑ์ และโลโก้ ของข้าวหอมมะลิอินทรีย์ที่ ผลิตในเขตทุ ่งสัมฤทธิ์ โดยใช้ กลุ ่มตัวอย่างจาก กลุ ่มเกษตร
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา