46 สารัตถะวิจัยเชิงพื้นที่: นวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน
การวิจัย |
ก่อนด�ำเนินการวิจัย |
หลังด�ำเนินการวิจัย ประชุมองค์กรผู้ใช้น�้ำ ผลการวิจัย พบว่า คุณภาพของระบบเตือนภัย แหล่งน�้ำมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับดี ทั้งในด้านความทันสมัย ด้านเนื้อหาที่ครอบคลุมและถูกต้อง ตรงตามความต้องการ ด้านความ ยืดหยุ
่นและสะดวกใช้งาน ด้านความ สวยงาน และด้านการน�ำไปใช้ ประโยชน์
|
การบูรณาการกับพันธกิจมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
1. ด้านการเรียนการสอน ในขั้นตอนพัฒนาระบบได้น�ำนักศึกษาสาขาวิทยาการ คอมพิวตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ผ่านการเรียนวิชาการพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์บนโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบสมาร์ทโฟนเข้ามามีส่วนร่วมในขั้นตอนการพัฒนา ซอฟต์แวร์ จ�ำนวนทั้งสิ้น 3 คน โดยคัดเลือกจากนักศึกษาที่ให้ความสนใจท�ำโครงการศึกษา เอกเทศ ซึ่งเป็นรายวิชาโครงการอิสระที่นักศึกษาจากทั้ง 2 หลักสูตรต้องลงทะเบียนเรียน
2. ด้านบริการวิชาการ ระบบเตือนภัยแหล่งน�้ำเกี่ยวข้องกับผู ้ใช้ทรัพยากรน�้ำจาก แหล่งเก็บกักน�้ำครอบคลุมพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ และศรีสะเกษ หลัง การพัฒนาระบบเตือนภัย ผู ้ใช้แหล่งน�้ำสามารถใช้ประโยชน์จากแอพพลิเคชั่นเพื่อรับทราบ ข้อมูลข่าวสารด้านแหล่งน�้ำผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบสมาร์ทโฟนได้ทุกสถานที่และทุก เวลา โดยสามารถค้นหาแอพพลิชั่นชื่อ WaterRIO8 จาก Google Play Store 3. ด้านท�ำนุบ�ำรุง- 4. ด้านการวิจัย ผลการวิจัยได้พัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่มีวัตถุประสงค์ ในการรายงานข่าวสาร แจ้งเตือนภัยเกี่ยวกับสถานการณ์แหล่งน�้ำให้กับราษฎรในเขตพื้นที่ ตามกลุ่มเป้าหมายได้น�ำไปใช้ประโยชน์ ทั้งนี้เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับทรัพยากรน�้ำ สามารถรับรู้ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งอาจส่งผลท�ำให้การตัดสินใจเกี่ยวกับการท�ำการเกษตร มีความสอดคล้องกับการใช้ทรัพยากรน�้ำที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา