รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว ฉบับที่ 2 ASEAN CONNECT | Page 13
สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก
ทีป่ จั จุบนั มีเพียงกว่า 30,000 ห้อง ซึง่ ร้อยละ 30 อยู่ในเมืองหลวง
และได้มาตรฐานสากลเพียง 1 ใน 4 รวมทัง้ ปัญหาความขัดแย้งทาง
ชาติพนั ธุจ์ ากความเชือ่ ทางศาสนาทีแ่ ตกต่างกัน เป็นต้น
แต่ ข ้ อ จ� ำ กั ด ดั ง กล่ า วในอนาคตจะถู ก แก้ ไ ขและส่ ง ผลให้
เมียนมาเป็นอีกประเทศทีน่ า่ จับตามองทางการท่องเทีย่ ว เป็นประเทศ
ทีม่ ศี กั ยภาพทางทรัพยากรทางการท่องเทีย่ ว และมีอาณาเขตติดกับ
ตลาดขนาดใหญ่ถงึ 2 ตลาด ได้แก่ อินเดีย และจีน
โดยสรุป การท่องเที่ยวยังคงมีบทบาทส�ำคัญต่อเศรษฐกิจโลก
และอาเซียน ด้วยการเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนนักท่องเที่ยวในอัตรา
สูงกว่าเฉลี่ยอย่างต่อเนื่องติดต่อกันมากว่า 5 ปี โดยส่วนใหญ่
เป็ น การท่ อ งเที่ ย วในประเทศแถบภู มิ ภาคเอเชี ย และแปซิ ฟ ิ ก
อเมริกา และยุโรป ตลาดหลักเป็นนักท่องเที่ยวจีนที่ครองอันดับ
หนึ่งแซงหน้านักท่องเที่ยวจากภูมิภาคอื่นๆ ที่เคยน�ำหน้าอย่าง
เช่ น นั ก ท่ อ งเที่ ย วจากสหรั ฐ อเมริ ก าและสหราชอาณาจั กร
จากการเติบโตดังกล่าวส่งผลให้หลายประเทศต่างให้ความส�ำคัญ
กับการส่งเสริมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในฐานะเป็นกลไกหลัก
ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ด้วยการก�ำหนดมาตรการ
และจัดท�ำโครงการที่เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นในเรือ่ งของความร่วมมือ อาทิ มาเลเซียที่
เน้นความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชนเพือ่ ขยายการลงทุน
ทางด้านปัจจัยพืน้ ฐาน หรือเมียนมาทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการมีสว่ นร่วม
ของชุมชนในการบริหารจัดการและอนุรกั ษ์ธรรมชาติและวัฒนธรรม
เพือ่ เป็นจุดขายส�ำคัญของการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน
รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว
11