ทดลองอ่าน ปราสาทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | Page 52

จ�ำนวนเก็จในศิลปะอินเดีย
ในระบบอินเดีย จ�ำนวนเก็จต่อผนัง ๑ ด้าน ถือเป็นประเด็นส�ำคัญใน การจัดระบบหรือแยกประเภทของปราสาท กล่าวคือ ถ้าในผนังด้านหนึ่งมี การยกเก็จจ�ำนวนเท่าใด ให้น�ำเอาชื่อของตัวเลขในภาษาสันสกฤตมาใช้ต่อกับ ค�ำว่า “ รถะ ” ( Ratha ) เช่น ถ้ายกเก็จจ�ำนวน ๓ เก็จ ( เก็จมุม-เก็จประธาน- เก็จมุม ) เราจะเรียกว่าการยกเก็จแบบ “ ตรีรถะ ” ถ้ายกเก็จจ�ำนวน ๕ เก็จ ( เก็จมุม-เก็จขนาบ-เก็จประธาน-เก็จขนาบ-เก็จมุม ) เราจะเรียกว่าการยกเก็จ แบบ “ ปัญจรถะ ” ๑๑
ตารางด้านล่างเป็นการอธิบายการยกเก็จในศิลปะอินเดียแบบเข้าใจง่าย
จ�ำนวน การยกเก็จ
๒ เก็จ
๓ เก็จ
๕ เก็จ
เก็จมุม
เก็จมุม
ระบบการยกเก็จในศิลปะอินเดีย
ส่วนลึก
ส่วนลึก
เก็จ ประธาน
ส่วนลึก
เก็จมุม
เก็จมุม
เก็จ ลึก เก็จ ลึก เก็จ ลึก เก็จ ลึก เก็จ
ชื่อการยกเก็จ ในภาษา สันสกฤต ทวิรถะ ( รูปที่ ๑ . ๒๕ )
ตรีรถะ ( รูปที่ ๑ . ๒๖ )
ปัญจรถะ ( รูปที่ ๑ . ๒๗ )
( ขวาบน ) รูปที่ ๑ . ๒๕ ตัวอย่างการยกก็จในผังทวิรถะในศิลปะอินเดีย ตัวอย่างจากปัญจายตนสถูป ศิลปะคุปตะ ( ขวาล่าง ) รูปที่ ๑ . ๒๖ ตัวอย่างการยกเก็จในผังตรีรถะในศิลปะอินเดีย ตัวอย่างจากเทวาลัย มาเลคิตติศิวาลัย ศิลปะจาลุกยะตะวันตกระยะแรก
36