Telecom & Innovation Journal | Page 2
2 Cover Story TELECOM & INNOVATION JOURNAL วันพุธที่ 1 มิถุนายน- วันพุธที่ 15 มิถุนายน 2559
กรมการขนส่งทางบกสั่งให้ Grab Bike และ Uber Moto ยุติการให้บริการเป็นครั้งที่สอง เนื่องจากเคยสั่งไป แล้ว แต่ทั้งสองก็ยังคงเปิดให้บริการต่อไป ยังมีการรับสมัคร คนขับ มีการตลาดบนสื่อ online และยังให้เหตุผลว่า“ มี พฤติกรรมแย่งผู ้โดยสารจากวินจักรยานยนต์สาธารณะที่ถูก ต้อง สร้างความไม่เสมอภาคและไม่เป็นธรรมกับผู้ประกอบ การที่ท�ำถูกกฎหมายและเข้าสู่ ระบบการจัดระเบียบของ คสช”
ประเด็นนี้จริงๆ มีมานานแล้ว ทาง TIJ ก็เคยเขียน ถึงตอนที่เป็นประเด็นเรื่อง Uber ในวันนั้น ตั้งแต่ปีที่แล้ว เราบอกว่าการเข้ามาของ Uber เป็นเหมือนข้อสอบแรกของ ภาครัฐในการปรับตัวตาม Digital Economy ที่รัฐบาลโม้นัก โม้หนาว่าอยากจะสร้างให้เกิดในไทย ซึ ่งการที่จนถึงวันนี้ Uber ก็ยังผิดกฏหมายอยู่ และในวันนี้มี Grab Bike และ Uber Moto มาเพิ่มใน blacklist เข้าไปอีก แสดงให้เห็น ว่านอกจากรัฐบาลจะสอบตกข้อสอบแรกไปแล้ว ไม่มีการปรับ ตัว ไม่มีการพัฒนา จนวันนี้สอบตกไปอีกสองข้อ
ท�ำไมเราถึงมองว่าการแบนบริการเหล่านี้ถึงเป็น ความล้มเหลว? เพราะมันคือการขัดต่อผลประโยชน์ของผู้ บริโภคโดยตรงในทั้งสองกรณี จะสังเกตุได้ชัดว่ากรมการ ขนส่งทางบกไม่สามารถพูด( และไม่เคยพูด) ว่าการยุติการ ให้บริการเหล่านี้นั้นเป็นประโยชน์กับผู้บริโภค ข้อกล่าวหา หลักคือ“ มีพฤติกรรมแย่งผู้โดยสารจากวินจักรยานยนต์ สาธารณะที่ถูกต้อง สร้างความไม่เสมอภาคและไม่เป็นธรรม กับผู้ประกอบการที่ท�ำถูกกฎหมายและเข้าสู่ ระบบการจัด ระเบียบของ คสช.”
ท�ำไมไอ้ค�ำว่า แย่งลูกค้า กลายเป็นเรื่องไม่ดีไปได้? อย่างกับว่าการแย่งลูกค้าคือสิ่งที่ไม่ควรท�ำ ถ้าไม่มีการ แข่งขันเพื่อแย่งลูกค้า ธุรกิจเกิดใหม่ต้องไปหาลูกค้ารายใหม่ ห้ามมาแย่งจากรายเก่า? จะให้เกิดได้อย่างไร? แต่ละวงการ จะมีการพัฒนาได้อย่างไร? การไปมองที่การแย่งลูกค้า เป็นการมองปลายเหตุอย่างแท้จริง ทั้งๆ ที่เราควรมองที่ต้น เหตุ ค�ำถามที่เราต้องถามคือ“ ท�ำไมผู้ให้บริการใหม่ๆ เหล่า นี ้ถึงเข้ามาแย่งลูกค้าของผู ้ให้บริการรายเก่าได้?” เป็นเพราะ ลูกค้าแค่ไม่ชอบขี้หน้าของคนเก่าหรอ? มันไม่ใช่! เราทุก คนในฐานะผู ้บริโภคย่อมท�ำตามประโยชน์ของตัวเอง ถ้าเรา เปลี่ยนผู ้ให้บริการ เป็นเพราะผู ้ให้บริการรายเก่าไม่ถูกใจเรา มีปัญหาที ่เราไม่พอใจ และผู้ให้บริการรายใหม่เขาเป็น ประโยชน์ต่อเรามากกว่า การสั่งไม่ให้ผู ้บริโภคเลือกผู ้บริการ รายใหม่คือการบังคับให้ผู ้บริโภคกลุ ่มหนึ่งต้องใช้บริการที่เขา พอใจน้อยกว่า
ปัญหาความไม่เสมอภาคในการให้บริการเป็นปัญหา ที่เราสร้างขึ้นมาเอง( แปล: รัฐสร้างขึ้นมาให้ประเทศ) การ ที่สั่งยุติบริการใหม่ เพื่อให้เหลือไว้เพียงบริการเดิมที่ตัวเอง ควบคุมอยู่นั้น การกระท�ำดังกว่าค�ำพูดเสมอ และการกระ ท�ำของภาครัฐชัดเจนว่า การสร้างตลาดรถจักรยานยนต์ รับจ้างที่ผูกขาดด้วยมาตรการรัฐ ส�ำคัญกว่า การสร้างตลาด รถจักรยานยนต์รับจ้างที่มีการแข่งขันเสรีมากขึ้น
ถ้าภาครัฐจะท�ำเช่นนี้ภาครัฐต้องสามารถอธิบายให้ได้ ว่าท�ำไมการบังคับให้ผู้บริโภคมีแค่ทางเลือกเดียว คือผู้ให้ บริการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐ และผู้ผูกขาดตลาด นั้นดีกว่าการปล่อยให้ผู้บริโภคเลือกจากผู้ให้บริการหลายๆ เจ้า และให้ผู้บริโภคเป็นคนตัดสินว่าใครจะอยู่ใครจะไป
ถ้ามองภาพใหญ่ ปัญหานี้ยิ่งดูน่าเป็นหวง เพราะนี่ คือผู ้ให้บริการใหม่แค่สองราย ในตลาดแค่สองตลาด ถ้าแค่ นี้เรายังไม่ยอมปรับตัวไม่ได้ ในอนาคตที่เทคโนโลยีจะเข้ามา เปลี่ยนหลายๆ อุตสาหกรรมมากขึ้น เราจะไว้ใจให้รัฐบาลน�ำ เราไปสู ่ Digital Economy จริงๆ หรือ? ถ้ารถพลังงานไฟฟ้า เข้ามาเต็มตัว มันจะถูกแบนข้อหาท�ำให้ปั๊มน�้ำมัน และเด็ก ปั๊ม ต้องล้มละลาย ต้องตกงานไหม? ถ้ารถขับเองได้เข้ามา เราจะแบนมันเพราะไม่ต้องการให้คนรับจ้างขับรถตกงาน ไหม? มองออกไปไกลกว่านี้อีกหน่อย ถ้าหุ ่นยนต์เข้ามาผลิต ของในโรงงานได้ เราจะแบนเพื่อไม่ให้มันเข้ามาแย่งงานคน งานไหม?
ไม่มีใครรู้อนาคตได้ ส�ำหรับประเทศแต่ละประเทศ สิ่งเดียวที่ท�ำได้คือมีความพร้อมที่จะปรับตัว ในวันนี้รัฐบาล ไทยมีเพียงแค่มุมมองของอนาคตในหัวตัวเอง ว่าสิ่งที่อยาก ให้เกิดเป็นอย่างไร ซึ่งเป็นอนาคตที่อยู่ภายใต้การควบคุม ของภาครัฐ ยังไม่มีท่าทีว่าภาครัฐสามารถปรับตัวให้เข้ากับ ทิศทางเศรฐกิจที่อาจจะแตกต่างออกไป
นี่ไม่ใช่ปัญหาที่เกิดมาเมื่อวาน และที่แน่ๆ ไม่ใช่ว่า ประเทศไทยไม่รู้ว่าจะเกิด ทุกคนที่อยู่ในวงการนี้มองเห็นมา แต่ไกล ทั้ง Uber และ Grab เปิดบริการในหลายๆ ประเทศ และ Sharing Economy ก็ก�ำลังโตสุดๆ มันไม่ใช่ว่า ประเทศไทยเป็นประเทศแรกที่เจอกับปัญหานี้ ไม่สามารถ เรียนรู้จากใครได้ เวลาผ่านมาเป็นปี การที่วันนี้เรายังไม่ พร้อมต้อนรับเขาเข้ามา เป็นตัวบ่งชี้ว่าภาครัฐเราไม่สนใจ ความเปลี่ยนแปลงอะไรเลย แม้เห็นๆ อยู่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น แต่ก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอะไรเลย จริงๆ แล้วเรื่องในวันนี้ มันไม่ควรเกิดขึ้น ทางเดียวที่ภาครัฐจะได้ความไว้วางใจคือ ต้องพิสูจน์ตัวเองด้วยผลงาน ในการปรับตัว ปรับทิศทาง ต้อนรับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เข้าพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ใช้ บริการ
จนกว่าเราจะได้เห็นสิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น รัฐบาลอยาก โม้เรื่อง Digital Economy ก็โม้ไป แต่ใครจะเชื่อก็ต้องให้ ศรัทธาเท่านั้น เพราะเหตุให้ต้องเชื่อ แทบไม่มีให้เห็นอยู ่เลย
เพราะการที่กรมการขนส่งทางบกสั่งให้ Grab Bike และ Uber Moto ปิดการให้บริการนั้น แทนที่จะสั่งให้ Grab Bike และ Uber Moto ยุติลง ควรออกกฏระเบียบที่ช่วยให้ เขาให้บริการได้ และรักษาคุณภาพเอาไว้ บังคับให้มีการ ตรวจสภาพรถ บังคับให้มีการตรวจภูมิหลังของผู ้มาสมัครขับ บังคับให้บริษัทท�ำประกัน เพื่อเป็นการรักษาคุณภาพการให้ บริการ เพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้ ท�ำแบบนี้แล้วบริการ ใหม่ๆ ก็จะสามารถเกิดขึ้นมาได้ ซึ่งบริษัทพวกนี้ได้แสดง ความพร้อมในการพัฒนาตัวเองในเรื่องทั้งหมดนี้อยู่แล้ว เพราะในทุกๆ ตลาดที่เขาเข้าไปท�ำเขาต้องแข่งขันกันด้วย คุณภาพเสมอ
ที่ท�ำให้หลายคนมองว่าการสั่งยุติเป็นเรื่องการเมือง ก็เพราะว่าทางสมาคมผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์รับจ้างแห่ง ประเทศไทยเปิดตัว GoBike ซึ่งท�ำงานเหมือนกับ Grab Bike และ Uber Moto ทุกอย่าง ต่างกันเพียงแค่บริการนี้ ถูกกฏหมาย เพราะพัฒนาโดยสมาคมผู ้ขับขี่รถจักรยานยนต์ รับจ้างแห่งประเทศไทย และผู ้ให้บริการเป็นวินมอเตอร์ไซต์ ที่ได้จดทะเบียนกับกรมขนส่งทางบก
“ ประชาชนไม่ได้ประโยชน์อะไรเลยจากการที่มี บริษัทที่เติบโตด้วยการผูกขาด”
เป็นการแสดงจุดยืนอย่างชัดเจนว่าภาครัฐไทย ต้องการให้มีการผูกขาดในตลาดนี้ แต่ไม่เคยสามารถอธิบาย ได้ว่าการผูกขาดนี้เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคอย่างไร จริงอยู่ ที่ว่ามี GoBike ดีกว่าไม่มี แต่ถ้าจะให้ดีควรให้ GoBike ออก ไปแข่งกับผู้ให้บริการอื่นๆ แล้วให้ผู้บริโภคเป็นคนตัดสิน เพราะการแข่งขัน“ เพื่อแย่งลูกค้า” กันนี่ล่ะ จะเป็นตัว กระตุ้นให้การให้บริการดีขึ้น
ลองนึกว่าถ้า GoBike ยังได้ผูกขาดตลอดไป แต่ เพราะไม่มีการแข่งขันจึงไม่มีการพัฒนามากเท่าที่ควร จริง อยู่ที่ GoBike อาจจะได้โตจนบางคนภูมิใจ แต่แล้วท�ำไม ประชาชนต้องเสียประโยชน์จากการไม่ได้ใช้บริการที่ดีกว่า? ถ้า GoBike ดีจริงๆ จะไปกลัวการแข่งขันท�ำไม เพราะผู้ บริโภคก็ต้องเลือกใช้อยู่แล้วถ้าดีจริง อย่าลืมว่าก่อน Grab จะขึ้นมาเป็น app เรียกรถแทกซี่อันดับ 1 ในไทยเขาก็ต้อง แข่งกับ Easy Taxi จนชนะ Uber เองก็ต้องแข่งกับ Lyft เขาไม่ได้ต้องผูกขาดนb เขาชนะด้วยการให้บริการที่ผู ้บริโภค พอใจมากที่สุด GoBike ควรท�ำเช่นกัน
แต่ก็มีอยู ่อีกมุมมองของกลุ ่มคนที่มองเห็นประโยชน์ ของการผูกขาด นั้นก็คือกลุ่มคนที่เชื่อใน โมเดลแบบจีน( China Model) คือเชื่อว่าการผูกขาดเป็นเรื่องดี เพราะถ้า ไม่ผูกขาด ผู้ให้บริการในประเทศจะไม่สามารถแข่งกับผู้ให้ บริการต่างประเทศได้ ให้กันผู้ให้บริการต่างประเทศออกไป
สนับสนุนผู้ให้บริการในประเทศด้วยการใช้ระบบสัมปทาน ผูกขาดไปเลย คือใช้อ�ำนาจรัฐสร้างบริษัทยักษ์ใหญ่ขึ้นมาใหม่ และพอโตค่อยออกไปแข่งในตลาดโลก จะได้มีบริษัทระดับ โลกจากไทยบ้าง อย่างที่จีนมี Tencent หรือ Baidu
การผูกขาดเป็นประโยชน์ต่อนายทุนที่ได้ผูกขาด เพราะถ้าส�ำเร็จ ก็ไม่จ�ำเป็นต้องพัฒนาเพราะยังไงก็ไม่มีคู่ แข่งอยู่แล้ว เป็นเสือนอนกิน
โดยคนพวกนี้ส่วนมากมองว่าปัญหาคือการไป ผูกขาดให้กับคนไม่เก่ง เราต้องหาคนที่เก่งซะก่อน ผูกขาด ให้กับเขา และให้เขาท�ำให้โต แต่ผู้เขียนอยากจะขอแย้งว่า ต่อให้เรามีคนเก่งๆ พวกนี้ การผูกขาดให้กับพวกเขาก็จะยัง คงเป็นทางเลือกที่ผิดส�ำหรับประเทศไทยอยู่ดี
ก่อนอื่นไม่มีอะไรมารับประกันได้ว่าการผูกขาดจะ ท�ำให้บริษัทที่ได้สัมปทานไปนั้นเติบโต ไม่งั้นการบินไทยคง ยิ่งใหญ่ไปนานแล้ว ในฐานะสายการบินที่ได้ผู้ขาดในหนึ่งใน ตลาดการท่องเที่ยวที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งในตลาดเทคส่วน มากเขาแข่งกันระดับโลก เราจะเอาบริษัทผูกขาดในตลาด เล็กของเรา ซึ ่งไม่เคยรู้จักกับการแข่งขันจริงๆ ไปแข่งใน ตลาดโลกได้ยังไง ในโมเดลจีนเขาอาศัยลูกค้าจ�ำนวนเป็น ร้อยๆ ล้านในการระดมทุนเพื่อบุกตลาดโลก บริษัทที่ผูกขาด ในบ้านเรามีฐานลูกค้าเริ่มต้นแค่ระดับสิบล้านเป็นอย่างมาก มันคนละเรื่องกันเลย
“ การผูกขาดเป็นประโยชน์ต่อภาครัฐที่ต้องการ อ�ำนาจในการควบคุม”
ต่อให้เติบโตได้จริงประโยชน์ที่ได้จากการมีบริษัทที่ เติบโตด้วยการผูกขาดคืออะไร? อาจจะมีความภาคฺภูมิใจที่ เราได้เห็นแบรนด์ไทยไประดับโลก แต่ข้อเสียคืออะไร? เมื่อ บริษัทเหล่านี้ไปบุกตลาดโลก ประชาชนได้อะไร? ตอนที่ Tencent ไปซื้อ Riot Games ของอเมริกามา ประชาชนจีน ได้อะไร? ส�ำนักงานใหญ่ก็ยังอยู่ในอเมริกา งานก็ยังอยู่ใน อเมริกา ที่ได้คือผู้ถือหุ้น Tencent หรือนายทุนนั้นเอง และ Baidu โตไปเอาชนะ Google ได้ไหม? Weibo ชนะ Twitter ได้ไหม? และโอกาสที่เสียไปของประชาชนคืออะไร? และอย่าง Weibo เองก็ถูกควบคุมด้วยรัฐ ประชาชนไม่มี ทางเลือกอื่นเลยถ้าอยากมีความเป็นส่วนตัว เหมือนอย่าง เวลาเราใช้ Line หรือ Facebook ถ้าให้มีการผูกขาดก็จะมี การควบคุมโดยรัฐ ประโยชน์ทางความเป็นส่วนตัวของ ประชาชนก็หายไป การควบคุมโดยรัฐเป็นผลกระทบจากการผูกขาด ประเทศที่เขาไม่สามารถพึ่งพาได้แค่ตลาดท้องถิ่น เพื่อการเติบโตเขาจะมีมุมมองในการแข่งขันที่ชัดเจนกว่านี้ มาก สิงค์โปร์เป็นประเทศที่มีการผูกขาดน้อยมาก จะว่าไป มีการแข่งขันในตลาดที่เสรีกว่าประเทศในตะวันตกซะอีก เรา ไม่เคยได้ยินข่าวนะครับว่ารัฐบาลเขาจะผูกขาดให้บริษัทไหน ให้โตในประเทศก่อน แล้วค่อยออกไปแข่งในตลาดโลก เขา เปิดประเทศให้ทั่วโลกเขามาแข่งในประเทศเขาได้เต็มที่ และ บริษัทจากสิงค์โปร์เองก็ออกไปบุกตลาดโลกอย่างเต็มที่เช่น กัน ท�ำไม Garena ที่เกิดในประเทศเล็กๆ ตอนนี้ครอบครอง ตลาดเกม PC ทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปแล้วล่ะ ครับ? Garena เขาแข่งขันจนขึ้นมาครองตลาด แต่ถ้าใคร อยากแย่งตลาดจากเขา ก็ไปแข่งเอาเอง ไม่ว่าใครชนะ หรือ จะแบ่งตลาดกันยังไง ผู้บริโภคก็ได้ประโยชน์
สรุปแล้วนอกจากความภาคภูมิใจในระดับหนึ่ง ประชาชนไม่ได้ประโยชน์อะไรนักเลยจากการที่มีบริษัทที่ เติบโตด้วยการผูกขาด ในขณะที่ต้องแลกด้วยการเสีย ประโยชน์จากการไม่ได้ใช้บริการที่ดีกว่า แต่ที่แน่ๆ การ ผูกขาดเป็นประโยชน์ต่อนายทุนที่ได้ผูกขาด เพราะถ้าส�ำเร็จ ก็ไม่จ�ำเป็นต้องพัฒนาเพราะยังไงก็ไม่มีคู่แข่งอยู่แล้ว เป็น เสือนอนกิน กินนอนสบายๆ เลย และการผูกขาดเป็น ประโยชน์ต่อภาครัฐที่ต้องการอ�ำนาจในการควบคุม เพราะ นายทุนที่อยู ่ได้ด้วยการผูกขาดก็จะสนับสนุนภาครัฐที่ช่วยให้ ตัวเองได้ผูกขาด แม้ต้องยอมให้ภาครัฐควบคุมกิจการของ ตัวเองได้อย่างที่รัฐบาลจีนคุม social media ในประเทศของ พวกเขาก็ตาม
2 Cover Story TELECOM & INNOVATION JOURNAL วันพุธที่ 1 มิถุนายน- วันพุธที่ 15 มิถุนายน 2559
ต่อจากหน้า 1
กรมการขนส่งทางบกสั่งให้ Grab Bike และ Uber Moto ยุติการให้บริการเป็นครั้งที่สอง เนื่องจากเคยสั่งไป แล้ว แต่ทั้งสองก็ยังคงเปิดให้บริการต่อไป ยังมีการรับสมัคร คนขับ มีการตลาดบนสื่อ online และยังให้เหตุผลว่า“ มี พฤติกรรมแย่งผู ้โดยสารจากวินจักรยานยนต์สาธารณะที่ถูก ต้อง สร้างความไม่เสมอภาคและไม่เป็นธรรมกับผู้ประกอบ การที่ท�ำถูกกฎหมายและเข้าสู่ ระบบการจัดระเบียบของ คสช”
ประเด็นนี้จริงๆ มีมานานแล้ว ทาง TIJ ก็เคยเขียน ถึงตอนที่เป็นประเด็นเรื่อง Uber ในวันนั้น ตั้งแต่ปีที่แล้ว เราบอกว่าการเข้ามาของ Uber เป็นเหมือนข้อสอบแรกของ ภาครัฐในการปรับตัวตาม Digital Economy ที่รัฐบาลโม้นัก โม้หนาว่าอยากจะสร้างให้เกิดในไทย ซึ ่งการที่จนถึงวันนี้ Uber ก็ยังผิดกฏหมายอยู่ และในวันนี้มี Grab Bike และ Uber Moto มาเพิ่มใน blacklist เข้าไปอีก แสดงให้เห็น ว่านอกจากรัฐบาลจะสอบตกข้อสอบแรกไปแล้ว ไม่มีการปรับ ตัว ไม่มีการพัฒนา จนวันนี้สอบตกไปอีกสองข้อ
ท�ำไมเราถึงมองว่าการแบนบริการเหล่านี้ถึงเป็น ความล้มเหลว? เพราะมันคือการขัดต่อผลประโยชน์ของผู้ บริโภคโดยตรงในทั้งสองกรณี จะสังเกตุได้ชัดว่ากรมการ ขนส่งทางบกไม่สามารถพูด( และไม่เคยพูด) ว่าการยุติการ ให้บริการเหล่านี้นั้นเป็นประโยชน์กับผู้บริโภค ข้อกล่าวหา หลักคือ“ มีพฤติกรรมแย่งผู้โดยสารจากวินจักรยานยนต์ สาธารณะที่ถูกต้อง สร้างความไม่เสมอภาคและไม่เป็นธรรม กับผู้ประกอบการที่ท�ำถูกกฎหมายและเข้าสู่ ระบบการจัด ระเบียบของ คสช.”
ท�ำไมไอ้ค�ำว่า แย่งลูกค้า กลายเป็นเรื่องไม่ดีไปได้? อย่างกับว่าการแย่งลูกค้าคือสิ่งที่ไม่ควรท�ำ ถ้าไม่มีการ แข่งขันเพื่อแย่งลูกค้า ธุรกิจเกิดใหม่ต้องไปหาลูกค้ารายใหม่ ห้ามมาแย่งจากรายเก่า? จะให้เกิดได้อย่างไร? แต่ละวงการ จะมีการพัฒนาได้อย่างไร? การไปมองที่การแย่งลูกค้า เป็นการมองปลายเหตุอย่างแท้จริง ทั้งๆ ที่เราควรมองที่ต้น เหตุ ค�ำถามที่เราต้องถามคือ“ ท�ำไมผู้ให้บริการใหม่ๆ เหล่า นี ้ถึงเข้ามาแย่งลูกค้าของผู ้ให้บริการรายเก่าได้?” เป็นเพราะ ลูกค้าแค่ไม่ชอบขี้หน้าของคนเก่าหรอ? มันไม่ใช่! เราทุก คนในฐานะผู ้บริโภคย่อมท�ำตามประโยชน์ของตัวเอง ถ้าเรา เปลี่ยนผู ้ให้บริการ เป็นเพราะผู ้ให้บริการรายเก่าไม่ถูกใจเรา มีปัญหาที ่เราไม่พอใจ และผู้ให้บริการรายใหม่เขาเป็น ประโยชน์ต่อเรามากกว่า การสั่งไม่ให้ผู ้บริโภคเลือกผู ้บริการ รายใหม่คือการบังคับให้ผู ้บริโภคกลุ ่มหนึ่งต้องใช้บริการที่เขา พอใจน้อยกว่า
ปัญหาความไม่เสมอภาคในการให้บริการเป็นปัญหา ที่เราสร้างขึ้นมาเอง( แปล: รัฐสร้างขึ้นมาให้ประเทศ) การ ที่สั่งยุติบริการใหม่ เพื่อให้เหลือไว้เพียงบริการเดิมที่ตัวเอง ควบคุมอยู่นั้น การกระท�ำดังกว่าค�ำพูดเสมอ และการกระ ท�ำของภาครัฐชัดเจนว่า การสร้างตลาดรถจักรยานยนต์ รับจ้างที่ผูกขาดด้วยมาตรการรัฐ ส�ำคัญกว่า การสร้างตลาด รถจักรยานยนต์รับจ้างที่มีการแข่งขันเสรีมากขึ้น
ถ้าภาครัฐจะท�ำเช่นนี้ภาครัฐต้องสามารถอธิบายให้ได้ ว่าท�ำไมการบังคับให้ผู้บริโภคมีแค่ทางเลือกเดียว คือผู้ให้ บริการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐ และผู้ผูกขาดตลาด นั้นดีกว่าการปล่อยให้ผู้บริโภคเลือกจากผู้ให้บริการหลายๆ เจ้า และให้ผู้บริโภคเป็นคนตัดสินว่าใครจะอยู่ใครจะไป
ถ้ามองภาพใหญ่ ปัญหานี้ยิ่งดูน่าเป็นหวง เพราะนี่ คือผู ้ให้บริการใหม่แค่สองราย ในตลาดแค่สองตลาด ถ้าแค่ นี้เรายังไม่ยอมปรับตัวไม่ได้ ในอนาคตที่เทคโนโลยีจะเข้ามา เปลี่ยนหลายๆ อุตสาหกรรมมากขึ้น เราจะไว้ใจให้รัฐบาลน�ำ เราไปสู ่ Digital Economy จริงๆ หรือ? ถ้ารถพลังงานไฟฟ้า เข้ามาเต็มตัว มันจะถูกแบนข้อหาท�ำให้ปั๊มน�้ำมัน และเด็ก ปั๊ม ต้องล้มละลาย ต้องตกงานไหม? ถ้ารถขับเองได้เข้ามา เราจะแบนมันเพราะไม่ต้องการให้คนรับจ้างขับรถตกงาน ไหม? มองออกไปไกลกว่านี้อีกหน่อย ถ้าหุ ่นยนต์เข้ามาผลิต ของในโรงงานได้ เราจะแบนเพื่อไม่ให้มันเข้ามาแย่งงานคน งานไหม?
ไม่มีใครรู้อนาคตได้ ส�ำหรับประเทศแต่ละประเทศ สิ่งเดียวที่ท�ำได้คือมีความพร้อมที่จะปรับตัว ในวันนี้รัฐบาล ไทยมีเพียงแค่มุมมองของอนาคตในหัวตัวเอง ว่าสิ่งที่อยาก ให้เกิดเป็นอย่างไร ซึ่งเป็นอนาคตที่อยู่ภายใต้การควบคุม ของภาครัฐ ยังไม่มีท่าทีว่าภาครัฐสามารถปรับตัวให้เข้ากับ ทิศทางเศรฐกิจที่อาจจะแตกต่างออกไป
นี่ไม่ใช่ปัญหาที่เกิดมาเมื่อวาน และที่แน่ๆ ไม่ใช่ว่า ประเทศไทยไม่รู้ว่าจะเกิด ทุกคนที่อยู่ในวงการนี้มองเห็นมา แต่ไกล ทั้ง Uber และ Grab เปิดบริการในหลายๆ ประเทศ และ Sharing Economy ก็ก�ำลังโตสุดๆ มันไม่ใช่ว่า ประเทศไทยเป็นประเทศแรกที่เจอกับปัญหานี้ ไม่สามารถ เรียนรู้จากใครได้ เวลาผ่านมาเป็นปี การที่วันนี้เรายังไม่ พร้อมต้อนรับเขาเข้ามา เป็นตัวบ่งชี้ว่าภาครัฐเราไม่สนใจ ความเปลี่ยนแปลงอะไรเลย แม้เห็นๆ อยู่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น แต่ก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอะไรเลย จริงๆ แล้วเรื่องในวันนี้ มันไม่ควรเกิดขึ้น ทางเดียวที่ภาครัฐจะได้ความไว้วางใจคือ ต้องพิสูจน์ตัวเองด้วยผลงาน ในการปรับตัว ปรับทิศทาง ต้อนรับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เข้าพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ใช้ บริการ
จนกว่าเราจะได้เห็นสิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น รัฐบาลอยาก โม้เรื่อง Digital Economy ก็โม้ไป แต่ใครจะเชื่อก็ต้องให้ ศรัทธาเท่านั้น เพราะเหตุให้ต้องเชื่อ แทบไม่มีให้เห็นอยู ่เลย
เพราะการที่กรมการขนส่งทางบกสั่งให้ Grab Bike และ Uber Moto ปิดการให้บริการนั้น แทนที่จะสั่งให้ Grab Bike และ Uber Moto ยุติลง ควรออกกฏระเบียบที่ช่วยให้ เขาให้บริการได้ และรักษาคุณภาพเอาไว้ บังคับให้มีการ ตรวจสภาพรถ บังคับให้มีการตรวจภูมิหลังของผู ้มาสมัครขับ บังคับให้บริษัทท�ำประกัน เพื่อเป็นการรักษาคุณภาพการให้ บริการ เพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้ ท�ำแบบนี้แล้วบริการ ใหม่ๆ ก็จะสามารถเกิดขึ้นมาได้ ซึ่งบริษัทพวกนี้ได้แสดง ความพร้อมในการพัฒนาตัวเองในเรื่องทั้งหมดนี้อยู่แล้ว เพราะในทุกๆ ตลาดที่เขาเข้าไปท�ำเขาต้องแข่งขันกันด้วย คุณภาพเสมอ
ที่ท�ำให้หลายคนมองว่าการสั่งยุติเป็นเรื่องการเมือง ก็เพราะว่าทางสมาคมผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์รับจ้างแห่ง ประเทศไทยเปิดตัว GoBike ซึ่งท�ำงานเหมือนกับ Grab Bike และ Uber Moto ทุกอย่าง ต่างกันเพียงแค่บริการนี้ ถูกกฏหมาย เพราะพัฒนาโดยสมาคมผู ้ขับขี่รถจักรยานยนต์ รับจ้างแห่งประเทศไทย และผู ้ให้บริการเป็นวินมอเตอร์ไซต์ ที่ได้จดทะเบียนกับกรมขนส่งทางบก
“ ประชาชนไม่ได้ประโยชน์อะไรเลยจากการที่มี บริษัทที่เติบโตด้วยการผูกขาด”
เป็นการแสดงจุดยืนอย่างชัดเจนว่าภาครัฐไทย ต้องการให้มีการผูกขาดในตลาดนี้ แต่ไม่เคยสามารถอธิบาย ได้ว่าการผูกขาดนี้เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคอย่างไร จริงอยู่ ที่ว่ามี GoBike ดีกว่าไม่มี แต่ถ้าจะให้ดีควรให้ GoBike ออก ไปแข่งกับผู้ให้บริการอื่นๆ แล้วให้ผู้บริโภคเป็นคนตัดสิน เพราะการแข่งขัน“ เพื่อแย่งลูกค้า” กันนี่ล่ะ จะเป็นตัว กระตุ้นให้การให้บริการดีขึ้น
ลองนึกว่าถ้า GoBike ยังได้ผูกขาดตลอดไป แต่ เพราะไม่มีการแข่งขันจึงไม่มีการพัฒนามากเท่าที่ควร จริง อยู่ที่ GoBike อาจจะได้โตจนบางคนภูมิใจ แต่แล้วท�ำไม ประชาชนต้องเสียประโยชน์จากการไม่ได้ใช้บริการที่ดีกว่า? ถ้า GoBike ดีจริงๆ จะไปกลัวการแข่งขันท�ำไม เพราะผู้ บริโภคก็ต้องเลือกใช้อยู่แล้วถ้าดีจริง อย่าลืมว่าก่อน Grab จะขึ้นมาเป็น app เรียกรถแทกซี่อันดับ 1 ในไทยเขาก็ต้อง แข่งกับ Easy Taxi จนชนะ Uber เองก็ต้องแข่งกับ Lyft เขาไม่ได้ต้องผูกขาดนb เขาชนะด้วยการให้บริการที่ผู ้บริโภค พอใจมากที่สุด GoBike ควรท�ำเช่นกัน
แต่ก็มีอยู ่อีกมุมมองของกลุ ่มคนที่มองเห็นประโยชน์ ของการผูกขาด นั้นก็คือกลุ่มคนที่เชื่อใน โมเดลแบบจีน( China Model) คือเชื่อว่าการผูกขาดเป็นเรื่องดี เพราะถ้า ไม่ผูกขาด ผู้ให้บริการในประเทศจะไม่สามารถแข่งกับผู้ให้ บริการต่างประเทศได้ ให้กันผู้ให้บริการต่างประเทศออกไป
สนับสนุนผู้ให้บริการในประเทศด้วยการใช้ระบบสัมปทาน ผูกขาดไปเลย คือใช้อ�ำนาจรัฐสร้างบริษัทยักษ์ใหญ่ขึ้นมาใหม่ และพอโตค่อยออกไปแข่งในตลาดโลก จะได้มีบริษัทระดับ โลกจากไทยบ้าง อย่างที่จีนมี Tencent หรือ Baidu
การผูกขาดเป็นประโยชน์ต่อนายทุนที่ได้ผูกขาด เพราะถ้าส�ำเร็จ ก็ไม่จ�ำเป็นต้องพัฒนาเพราะยังไงก็ไม่มีคู่ แข่งอยู่แล้ว เป็นเสือนอนกิน
โดยคนพวกนี้ส่วนมากมองว่าปัญหาคือการไป ผูกขาดให้กับคนไม่เก่ง เราต้องหาคนที่เก่งซะก่อน ผูกขาด ให้กับเขา และให้เขาท�ำให้โต แต่ผู้เขียนอยากจะขอแย้งว่า ต่อให้เรามีคนเก่งๆ พวกนี้ การผูกขาดให้กับพวกเขาก็จะยัง คงเป็นทางเลือกที่ผิดส�ำหรับประเทศไทยอยู่ดี
ก่อนอื่นไม่มีอะไรมารับประกันได้ว่าการผูกขาดจะ ท�ำให้บริษัทที่ได้สัมปทานไปนั้นเติบโต ไม่งั้นการบินไทยคง ยิ่งใหญ่ไปนานแล้ว ในฐานะสายการบินที่ได้ผู้ขาดในหนึ่งใน ตลาดการท่องเที่ยวที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งในตลาดเทคส่วน มากเขาแข่งกันระดับโลก เราจะเอาบริษัทผูกขาดในตลาด เล็กของเรา ซึ ่งไม่เคยรู้จักกับการแข่งขันจริงๆ ไปแข่งใน ตลาดโลกได้ยังไง ในโมเดลจีนเขาอาศัยลูกค้าจ�ำนวนเป็น ร้อยๆ ล้านในการระดมทุนเพื่อบุกตลาดโลก บริษัทที่ผูกขาด ในบ้านเรามีฐานลูกค้าเริ่มต้นแค่ระดับสิบล้านเป็นอย่างมาก มันคนละเรื่องกันเลย
“ การผูกขาดเป็นประโยชน์ต่อภาครัฐที่ต้องการ อ�ำนาจในการควบคุม”
ต่อให้เติบโตได้จริงประโยชน์ที่ได้จากการมีบริษัทที่ เติบโตด้วยการผูกขาดคืออะไร? อาจจะมีความภาคฺภูมิใจที่ เราได้เห็นแบรนด์ไทยไประดับโลก แต่ข้อเสียคืออะไร? เมื่อ บริษัทเหล่านี้ไปบุกตลาดโลก ประชาชนได้อะไร? ตอนที่ Tencent ไปซื้อ Riot Games ของอเมริกามา ประชาชนจีน ได้อะไร? ส�ำนักงานใหญ่ก็ยังอยู่ในอเมริกา งานก็ยังอยู่ใน อเมริกา ที่ได้คือผู้ถือหุ้น Tencent หรือนายทุนนั้นเอง และ Baidu โตไปเอาชนะ Google ได้ไหม? Weibo ชนะ Twitter ได้ไหม? และโอกาสที่เสียไปของประชาชนคืออะไร? และอย่าง Weibo เองก็ถูกควบคุมด้วยรัฐ ประชาชนไม่มี ทางเลือกอื่นเลยถ้าอยากมีความเป็นส่วนตัว เหมือนอย่าง เวลาเราใช้ Line หรือ Facebook ถ้าให้มีการผูกขาดก็จะมี การควบคุมโดยรัฐ ประโยชน์ทางความเป็นส่วนตัวของ ประชาชนก็หายไป การควบคุมโดยรัฐเป็นผลกระทบจากการผูกขาด ประเทศที่เขาไม่สามารถพึ่งพาได้แค่ตลาดท้องถิ่น เพื่อการเติบโตเขาจะมีมุมมองในการแข่งขันที่ชัดเจนกว่านี้ มาก สิงค์โปร์เป็นประเทศที่มีการผูกขาดน้อยมาก จะว่าไป มีการแข่งขันในตลาดที่เสรีกว่าประเทศในตะวันตกซะอีก เรา ไม่เคยได้ยินข่าวนะครับว่ารัฐบาลเขาจะผูกขาดให้บริษัทไหน ให้โตในประเทศก่อน แล้วค่อยออกไปแข่งในตลาดโลก เขา เปิดประเทศให้ทั่วโลกเขามาแข่งในประเทศเขาได้เต็มที่ และ บริษัทจากสิงค์โปร์เองก็ออกไปบุกตลาดโลกอย่างเต็มที่เช่น กัน ท�ำไม Garena ที่เกิดในประเทศเล็กๆ ตอนนี้ครอบครอง ตลาดเกม PC ทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปแล้วล่ะ ครับ? Garena เขาแข่งขันจนขึ้นมาครองตลาด แต่ถ้าใคร อยากแย่งตลาดจากเขา ก็ไปแข่งเอาเอง ไม่ว่าใครชนะ หรือ จะแบ่งตลาดกันยังไง ผู้บริโภคก็ได้ประโยชน์
สรุปแล้วนอกจากความภาคภูมิใจในระดับหนึ่ง ประชาชนไม่ได้ประโยชน์อะไรนักเลยจากการที่มีบริษัทที่ เติบโตด้วยการผูกขาด ในขณะที่ต้องแลกด้วยการเสีย ประโยชน์จากการไม่ได้ใช้บริการที่ดีกว่า แต่ที่แน่ๆ การ ผูกขาดเป็นประโยชน์ต่อนายทุนที่ได้ผูกขาด เพราะถ้าส�ำเร็จ ก็ไม่จ�ำเป็นต้องพัฒนาเพราะยังไงก็ไม่มีคู่แข่งอยู่แล้ว เป็น เสือนอนกิน กินนอนสบายๆ เลย และการผูกขาดเป็น ประโยชน์ต่อภาครัฐที่ต้องการอ�ำนาจในการควบคุม เพราะ นายทุนที่อยู ่ได้ด้วยการผูกขาดก็จะสนับสนุนภาครัฐที่ช่วยให้ ตัวเองได้ผูกขาด แม้ต้องยอมให้ภาครัฐควบคุมกิจการของ ตัวเองได้อย่างที่รัฐบาลจีนคุม social media ในประเทศของ พวกเขาก็ตาม