School of Science Magazine no. 5 : October 2013 - March 2014 | Seite 8

Cover 08 “ประเทศไทยมีการเรียนภาษาอังกฤษและ วิทยาศาสตร์มาอย่างยาวนาน แต่เยาวชนไทย ไม่สามารถเทียบเท่ากับเยาวชนประเทศแถบ ยุโรปได้ อาจเป็นเพราะการศึกษาของประเทศ ไทยขาดจิ ต สำนึ ก ต่ อ การเรี ย นรู้ แ ละไม่ มี แรงบันดาลใจที่ดี การที่จะเกิดแรงบันดาลใจ ได้จะต้องมีต้นแบบที่ดี มีสิ่งอำนวยต่อการ เรียนรู้อย่างกว้างขวาง และเยาวชนสามารถ เข้าถึงได้ง่าย รวมถึงการพัฒนาครูผู้สอนหรือ ระบบการศึกษาของประเทศไทย เหตุเพราะ ดร.ปิยเนตร ฉุยฉาย “แรงบันดาลใจ” เกิดขึ้นได้ในชั่วเวลา พริบตาของเด็กคนหนึ่ง ที่อาจจะได้ยิน ได้ฟัง หรือได้เห็น สิ่งที่ทำให้รู้สึกประทับใจมากๆ เด็ก หลายคนดูโทรทัศน์เห็นนักแสดง นักเต้น นักดนตรี แล้วเกิดแรงบันดาลใจ และคงมีเด็กจำนวน ไม่น้อยที่มี “ครู” เป็นแรงบันดาลใจ เด็กนักเรียนทีเรียน “วิทยาศาสตร์” ของ ่ ประเทศไทย มักได้รบการยอมรับว่าเป็นเด็กเก่ง ั ในสายตาคนทั่วไป แต่สิ่งที่จะทำให้เด็กมีผล การเรียนที่ดี และมีความสุขในการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ด้วยนั้นเป็นเรื่องท้าทายครูผู้สอน เป็นอย่างมาก กิจกรรมในห้องเรียน ทุกวันนี้ครูจะสอนแต่เพียงสิ่งที่อยู่ในตำรา จะ ไม่ ต อบคำถามเด็ ก ที่ ถ ามเรื่ อ งนอกตำรา เหตุที่ไม่ตอบเพราะไม่รู้ ครูเองก็เรียนมาจาก ในตำราเพียงเท่านี้เหมือนกัน ดังนั้นหากเรา ต้ อ งการเห็ น พั ฒ นาการด้ า นการศึ ก ษาสาย วิทยาศาสตร์ในประเทศไทย จะต้องเริ่มจาก การสร้ า งแรงบั นดาลใจให้ แ ก่ เด็ ก เสี ย ก่ อ น” รศ.ดร.วันชัย ศิรชนะ อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟาหลวง ิ ้ (มฟล.) บรรยายเรือง “การส่งเสริมการเรียนรูวทยาศาสตร์” ่ ้ิ ในการประชุมคณบดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6/2556 เมือวันที่ 14 ธันวาคม 2556 ณ ห้องประชุมดอยตุง ่ อาคารสำนักงานอธิการบดี มฟล. สื่อการสอนใกล้ตัว สร้างความสนุก ในห้องเรียนวิทยาศาสตร์ สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง (มฟล.) เป็นสำนักวิชาที่สอน รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานให้กับทุกสำนัก วิชา การทำให้การเรียนวิทยาศาสตร์เป็นเรือง ่ สนุ ก และเข้ า ใจง่ า ยจึ ง เป็ น หน้ า ที่ ส ำคั ญ ของ อาจารย์สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ ดร.ปิยเนตร ฉุยฉาย ผู้สอนรายวิชาหลัก ฟิสิกส์ให้กับนักศึกษาสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เครืองสำอาง วิทยาศาสตร์สขภาพ ่ ุ อุตสาหกรรมเกษตร วิศวกรรมศาสตร์ และ พยาบาล ได้นำสือการสอนหลากหลายรูปแบบ เช่น ่ แอพพลิเคชันในโทรศัพท์เคลือนที่ เครืองดนตรี ่ ่ ่ ชนิดเครืองสาย สิงของใกล้ตวในชีวตประจำวัน ่ ่ ั ิ เช่น เชือกกระโดด ลูกเทนนิส แปรงลบกระดาน เก้าอี้ และอื่นๆ อีกมากมาย มาประยุกต์เป็น สื่อการสอน เพื่อสร้างความสนุกสนานและ ความสนใจให้กับนักศึกษาในการเรียนการสอน วิชาฟิสิกส์ได้เป็นอย่างดี เ