MD news vol.51 Vol51 | Page 7

และนักเรียนประจำา จัดห้องตามระบบอังกฤษเรียกว่าฟอร์ม ( form ) คุณแม่บุญประจักษ์ ทรรทรานนท์ เล่าว่ามาแตร์ เดอีฯ เป็นโรงเรียนแรกของประเทศไทยที่เปิดการสอนชั้น อนุบาล ( Kindergarten )
“ ซิสเตอร์ที่สอนอนุบาลคนแรก คือ มาเธอร์เทเรซา จบมอนเตสซอรี่จากประเทศอังกฤษ ก็เอาระบบจากที่นั่นมา สอน นักเรียนไทยกับนักเรียนชาวต่างประเทศในชั้นอนุบาลมี ครึ่งต่อครึ่ง เด็กไทยมาเทอมเดียวก็พูดภาษาอังกฤษได้ เพราะ ว่ามีเด็กน้อย มาเธอร์เทเรซายืนสอนทั ้งวันเป็นภาษาอังกฤษ เด็กได้ยินก็จำาได้ ”
ในวันที่ 10 มิถุนายน พ . ศ . 2474 โรงเรียนได้รับ อนุญาตจากกระทรวงธรรมการ ให้เปิดสอนวิชาตามหลักสูตร เฉพาะทางของโรงเรียน รวมทั้งได้รับอนุญาตให้มีโรงเรียน ประถมศึกษาได้ตามคำาสั่งของกระทรวงธรรมการ ลงวันที่ 12 เมษายน พ . ศ . 2476 และได้รับใบสำาคัญลงวันที่ 24 ตุลาคม ในปีเดียวกัน
แม้จะเป็นโรงเรียนสำาหรับเด็กหญิง แต่ในชั้นอนุบาล จนถึงประถม 2 โรงเรียนรับนักเรียนชายด้วย เนื่องจาก โรงเรียนเด็กชายในยุคนั้นยังไม่มีชั้นอนุบาล นักเรียนอนุบาล ชายพระองค์หนึ่ง เข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย เมื่อ วันที ่ 22 พฤษภาคม พ . ศ . 2473 คือ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า อานันทมหิดล โอรสในสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงสงขลานครินทร์ เสด็จมาเป็นนักเรียน KG . ทรงได้รับเลขประจำาตัว 273 “ ท่าน ก็เรียนเหมือนเด็กอื่นๆ สมเด็จพระบรมราชชนนีมาส่งทุกวัน บางทีสมเด็จหญิงก็เสด็จด้วย สมเด็จพระพี่นางอยู่โรงเรียน ราชินี แต่เวลาโรงเรียนราชินีหยุด บางทีท่านก็มา เพราะ
โรงเรียนสมัยก่อนหยุดไม่ตรงกัน โรงเรียนมาแตร์มีสองเทอม โรงเรียนอื่นมีสามเทอม ” “ ท่านก็เหมือนเด็กธรรมดา แต่ท่าน จะมีตะกร้าใส่กระติกนม พระพี่เลี้ยงหิ้วตามมา วางไว้ในตู้ อาหาร เด็กที่โตกว่าเวลาหยุดพักต้องไปหยิบ มาแมร์สั่งเด็ก ที่โตกว่าบริการเด็กเล็กเวลาหยุดพักตอนสิบโมง และไม่ได้ หมายความว่าหยิบถวายพระองค์เดียว ช่วยเด็กเล็กๆ ทุกคน ถึงกลางวันท่านก็เสด็จกลับ เด็กเล็กเมื่อก่อนเรียนครึ่งวัน ตอน บ่ายนอน แต่เมื่อก่อนโรงเรียนไม่มีที่นอน เด็กเล็กๆ ก็กลับ คิดว่าที่ท่านมาเรียนที่นี่เพราะเวลานั้นโรงเรียนน้อย และก็ใกล้ วัง แล้วก็มีมาแมร์พูดภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส ” “ เด็กคนอื่นก็ สนใจแต่ว่าไม่ได้ถามอะไรวุ่นวายรู้ว่ามาเรียน ท่านเข้าทะเบียน เป็นนักเรียนธรรมดา มาทราบทีหลังเมื่อขึ้นครองราชย์แล้ว มาแมร์ก็มาลงโน้ต คือขีดเส้นแดงที่ในทะเบียนแล้วลงหมายเหตุ ทีแรกก็รับเหมือนเด็กธรรมดา แต่รู้สึกจะมีมาแมร์คนหนึ่งพูด ว่าอาจจะได้เป็น king แต่เราไม่รู้แน่นอน ท่านเรียนอยู ่สองสาม ปีเท่านั้น “ รู้สึกเที่ยวแรกมาจะเข้าพระองค์เดียว อีกพระองค์ ตามมาเล่น แล้วก็เลยเข้าด้วย จำาได้ว่าสมเด็จพระบรมราชชนนี เสด็จมาส่งทุกวัน มีรถมา แล้วท่านก็จูงข้ามสะพานไปส่ง ข้างใน อุ้มองค์หนึ่ง จูงองค์หนึ่ง ” เนื่องจากโรงเรียนรับ เด็กชายเข้าเป็นนักเรียนถึงอายุเพียง 7 ขวบ ใน พ . ศ . 2475 พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอานันทมหิดล จึงลาออกจาก โรงเรียน ส่วนพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นทะเบียนเป็นนักเรียนในเดือนพฤศจิกายน พ . ศ . 2475 ทรงได้รับเลขประจำาตัว 449 และทรงลาออกเพื ่อเสด็จประทับ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน พ . ศ . 2476
4 Mater Dei News ฉบับที่ 51 ปีที่ 13 ปีการศึกษา 2559

และนักเรียนประจำา จัดห้องตามระบบอังกฤษเรียกว่าฟอร์ม ( form ) คุณแม่บุญประจักษ์ ทรรทรานนท์ เล่าว่ามาแตร์ เดอีฯ เป็นโรงเรียนแรกของประเทศไทยที่เปิดการสอนชั้น อนุบาล ( Kindergarten )

“ ซิสเตอร์ที่สอนอนุบาลคนแรก คือ มาเธอร์เทเรซา จบมอนเตสซอรี่จากประเทศอังกฤษ ก็เอาระบบจากที่นั่นมา สอน นักเรียนไทยกับนักเรียนชาวต่างประเทศในชั้นอนุบาลมี ครึ่งต่อครึ่ง เด็กไทยมาเทอมเดียวก็พูดภาษาอังกฤษได้ เพราะ ว่ามีเด็กน้อย มาเธอร์เทเรซายืนสอนทั ้งวันเป็นภาษาอังกฤษ เด็กได้ยินก็จำาได้ ”

ในวันที่ 10 มิถุนายน พ . ศ . 2474 โรงเรียนได้รับ อนุญาตจากกระทรวงธรรมการ ให้เปิดสอนวิชาตามหลักสูตร เฉพาะทางของโรงเรียน รวมทั้งได้รับอนุญาตให้มีโรงเรียน ประถมศึกษาได้ตามคำาสั่งของกระทรวงธรรมการ ลงวันที่ 12 เมษายน พ . ศ . 2476 และได้รับใบสำาคัญลงวันที่ 24 ตุลาคม ในปีเดียวกัน

แม้จะเป็นโรงเรียนสำาหรับเด็กหญิง แต่ในชั้นอนุบาล จนถึงประถม 2 โรงเรียนรับนักเรียนชายด้วย เนื่องจาก โรงเรียนเด็กชายในยุคนั้นยังไม่มีชั้นอนุบาล นักเรียนอนุบาล ชายพระองค์หนึ่ง เข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย เมื่อ วันที ่ 22 พฤษภาคม พ . ศ . 2473 คือ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า อานันทมหิดล โอรสในสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงสงขลานครินทร์ เสด็จมาเป็นนักเรียน KG . ทรงได้รับเลขประจำาตัว 273 “ ท่าน ก็เรียนเหมือนเด็กอื่นๆ สมเด็จพระบรมราชชนนีมาส่งทุกวัน บางทีสมเด็จหญิงก็เสด็จด้วย สมเด็จพระพี่นางอยู่โรงเรียน ราชินี แต่เวลาโรงเรียนราชินีหยุด บางทีท่านก็มา เพราะ

โรงเรียนสมัยก่อนหยุดไม่ตรงกัน โรงเรียนมาแตร์มีสองเทอม โรงเรียนอื่นมีสามเทอม ” “ ท่านก็เหมือนเด็กธรรมดา แต่ท่าน จะมีตะกร้าใส่กระติกนม พระพี่เลี้ยงหิ้วตามมา วางไว้ในตู้ อาหาร เด็กที่โตกว่าเวลาหยุดพักต้องไปหยิบ มาแมร์สั่งเด็ก ที่โตกว่าบริการเด็กเล็กเวลาหยุดพักตอนสิบโมง และไม่ได้ หมายความว่าหยิบถวายพระองค์เดียว ช่วยเด็กเล็กๆ ทุกคน ถึงกลางวันท่านก็เสด็จกลับ เด็กเล็กเมื่อก่อนเรียนครึ่งวัน ตอน บ่ายนอน แต่เมื่อก่อนโรงเรียนไม่มีที่นอน เด็กเล็กๆ ก็กลับ คิดว่าที่ท่านมาเรียนที่นี่เพราะเวลานั้นโรงเรียนน้อย และก็ใกล้ วัง แล้วก็มีมาแมร์พูดภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส ” “ เด็กคนอื่นก็ สนใจแต่ว่าไม่ได้ถามอะไรวุ่นวายรู้ว่ามาเรียน ท่านเข้าทะเบียน เป็นนักเรียนธรรมดา มาทราบทีหลังเมื่อขึ้นครองราชย์แล้ว มาแมร์ก็มาลงโน้ต คือขีดเส้นแดงที่ในทะเบียนแล้วลงหมายเหตุ ทีแรกก็รับเหมือนเด็กธรรมดา แต่รู้สึกจะมีมาแมร์คนหนึ่งพูด ว่าอาจจะได้เป็น king แต่เราไม่รู้แน่นอน ท่านเรียนอยู ่สองสาม ปีเท่านั้น “ รู้สึกเที่ยวแรกมาจะเข้าพระองค์เดียว อีกพระองค์ ตามมาเล่น แล้วก็เลยเข้าด้วย จำาได้ว่าสมเด็จพระบรมราชชนนี เสด็จมาส่งทุกวัน มีรถมา แล้วท่านก็จูงข้ามสะพานไปส่ง ข้างใน อุ้มองค์หนึ่ง จูงองค์หนึ่ง ” เนื่องจากโรงเรียนรับ เด็กชายเข้าเป็นนักเรียนถึงอายุเพียง 7 ขวบ ใน พ . ศ . 2475 พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอานันทมหิดล จึงลาออกจาก โรงเรียน ส่วนพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นทะเบียนเป็นนักเรียนในเดือนพฤศจิกายน พ . ศ . 2475 ทรงได้รับเลขประจำาตัว 449 และทรงลาออกเพื ่อเสด็จประทับ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน พ . ศ . 2476

( บทสัมภาษณ์ คุณแม่บุญประจักษ์ ทรรทรานนท์ และหม่อมเจ้าหญิงกรณิกา จิตรพงศ์
จากหนังสือ ได้รู้จัก คือ ได้รัก ... มาแตร์เดอี )

4 Mater Dei News ฉบับที่ 51 ปีที่ 13 ปีการศึกษา 2559