CIO WORLD & BUSINESS | Page 2

SPECIAL REPORT เรือ่ ง : ภาณุพงษ์ วงษ์รอด, ชลัมพ์ ศุภวาที ภาพ : สาธร ลีลาขจรจิต ม.กรุงเทพ ขานรับ Digital Economy ปรับใช้ ต้องรูท้ นั และเข้าใจ Digital Economy คือ การขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศ โดยการน�าเอา เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เข้ามาใช้เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ และสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผลผลิต มวลรวมของประเทศให้ทนั กับโลกในยุคปัจจุบนั ตัง้ แต่การสร้างความรู้ และ น�าเอาไปปรับใช้ให้ตรงเป้าหมาย ผ่านทางนวัตกรรม และกระบวนการความคิด เรือ่ งของเศรษฐกิจดิจทิ ลั นัน้ เป็นเรือ่ งของการอาศัยกระบวนการวางแผน และกลยุทธ์ ในการด�าเนินงานทีช่ ดั เจน โดยเริม่ ตัง้ แต่รากฐานทีส่ า� คัญทีส่ ดุ คือ กระบวนการทางการ พัฒนาความรู้ การสร้างความตระหนักด้านการใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ให้เกิดความเข้าใจ ซึง่ สิง่ ต่างๆ เหล่านีเ้ ริม่ ต้นจากสถานศึกษาทีต่ อ้ งปรับเปลีย่ นกลยุทธ์ในการเรียนการสอนให้ แก่ นิสติ นักศึกษาทีเ่ รียนอยูใ่ นแต่ละสถาบันการศึกษาทีใ่ ห้เป็นบุคลากรทีม่ คี วามสามารถ ทางด้านไอทีให้สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงทางด้านเทคโนโลยีในปัจจุบนั มุง่ สูก่ ารเป็น “e-University” ด้วย Strategic+Action ผศ.สมจิตต์ ลิขติ ถาวร รองอธิการบดีฝา่ ยทรัพยากรสารสนเทศ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ได้เปิดเผยกับทางนิตยสาร CIO World&Business ว่า ใน ฐานะทีเ่ ราเป็นสถาบันอุดมศึกษาย่อมต้องให้ความส�าคัญกับ “เรือ่ งเศรษฐกิจดิจทิ ลั ” ในล�าดับต้นๆ ดังจะเห็นได้ว่ามหาวิทยาลัยกรุงเทพได้โฟกัสในเรื่องนี้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 ซึง่ เราได้ตงั้ เป้าหมายว่า มหาวิทยาลัยกรุงเทพมุง่ สูก่ ารเป็น “e-University” จึงได้จดั ท�าแผนกลยุทธ์ (Strategic Plan) และแผนปฏิบตั กิ าร (Action Plan) เพือ่ ผลักดันเป้าหมายด้าน ICT ของมหาวิทยาลัยให้บรรลุผลตามแผน โดยพิจารณาวาง กระบวนการท�างาน (Process/Sub Process) ทีจ่ ะช่วยพัฒนาการเรียนการสอนให้ทนั สมัย สนับสนุนงานวิจยั ให้เข้มแข็งและพัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารจัดการ ทีด่ ี มีนวัตกรรมการให้บริการทีเ่ ป็นเลิศ สนับสนุนกระบวนการเรียนรูด้ ว้ ยเทคโนโลยี เพื่อรองรับแผนดังกล่าว ที่ผ่านมามหาวิทยาลัยกรุงเทพได้วางระบบโครงสร้าง พื้นฐานเพื่อให้ธุรกรรมออนไลน์ สามารถด�าเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้ 60 CIO WORLD&BUSINESS AUGUST 2015