Bulletin 2017-2018 Bulletin 2017-2018 | Page 204

กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน-เลือก​(18 หน่วยกิต) หน่วยกิต อฟ. 391 การออกแบบแฟชั่นเฉพาะทาง 1 3 FD 391 Fashion Design Specialization I อฟ. 392 ดิจิทัลและเทคโนโลยีสำาหรับแฟชั่น 3 FD 392 Digital and Technology in Fashion อฟ. 393 การออกแบบแฟชั่นเฉพาะทาง 2 3 FD 393 Fashion Design Specialization II (ยกเว้นแผนสหกิจศึกษา) อฟ. 394 ประเด็นที่ร่วมสมัยในแฟชั่น 3 FD 394 Contemporary Issues in Fashion (ยกเว้นแผนสหกิจศึกษา) อฟ. 395 ประเด็นเฉพาะทางทำาหรับแฟชั่น 1 3 FD 395 Special Issues in Fashion I (ยกเว้นแผนสหกิจศึกษา) อฟ. 396 ประเด็นเฉพาะทางทำาหรับแฟชั่น 2 3 FD 396 Special Issues in Fashion II (ยกเว้นแผนสหกิจศึกษา) สศ. 301 เตรียมสหกิจ (เฉพาะแผนสหกิจศึกษา) 3 CO 301 Pre-Cooperative Education อฟ. 430 สหกิจศึกษา (เฉพาะแผนสหกิจศึกษา) 9 FD 430 Cooperative Education หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต) นักศึกษาจะต้องเลือกเรียนรายวิชาอื น ่ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย กรุงเทพ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือเลือกเรียนในรายวิชาดังต่อไปน อฟ. 201 ศิลปะสัญจรเครื่องแต่งกายและสิ่งทอ 3 FD 201 Survey of Fashion and Textile อฟ. 401 การแต่งหน้าแฟชั่น 3 FD 401 Fashion Make up อฟ. 402 การสร้างภาพลักษณ์บุคคล 3 FD 402 Personal Styling อฟ. 403 แฟชั่นโมเดลลิ่ง 3 FD 403 Fashion Modeling อฟ. 404 รสนิยมแฟชั่น 3 FD 404 Taste of Fashion 202 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ สาขาวิ ช าการออกแบบผลิ ต ภัณ ฑ์ สาขาล่ า สุ ด ของคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ เราสร้างนักศึกษาให้เป็น Creator หรือผู้สร้างสรรค์ สอนโดยนักออกแบบผลิตภัณฑ์ม อ ื อาชีพที ม ่ ีประสบการณ์การทำางานใน ต่างประเทศที่นำาศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง มาบูรณาการเชิงประยุกต์ เพื่ อ มาพัฒนาเน้นควบคู่ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ครอบคลุมการ ออกแบบการจัดการการพัฒนาวัสดุทางการออกแบบผลิตภัณฑ์และ บรรจุภัณฑ์ ภาษาต่างประเทศ กฎหมาย และการส่งเสริมเอกลักษณ์ของ ชาติ เพื่อสร้างนักออกแบบที่มีศักยภาพได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของ ภาคธุรกิจ สังคม ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ โอกาส​ใน​การ​ประกอบ​อาชีพ บัณฑิต ที่ สำาเร็จ การ ศึกษาสาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ ์ สามารถ ประกอบ อาชีพ ได้ หลากหลายอาชีพ เช่น นักสร้างสรรค ผลิตภัณฑ์ในธุรกิจสินค้าไลฟ์สไตล์และเฟอร์นิเจอร์ นักสร้างสรรค์บรรจ ภัณฑ์ นักสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และงานออกแบบบริการ นักสร้างสรรค นวัตกรรมผลิตภัณฑ์เพื่ออนาคต เป็นต้น หลักสูตร หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ แยกออกเป็นแผนการศึกษาแบบปกติ และแผนการศึกษา แบบสหกิจศึกษา โดยมีรายละเอียดดังน