Bulletin 2017-2018 Bulletin 2017-2018 | Page 166

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
- การเจรจาต่อรองกับนักธุรกิจต่างชาติ - การสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับนักธุรกิจต่างชาติ - มารยาทในการติดต่อสื่อสารและการเข้าสังคมกับนักธุรกิจ
ต่างชาติ
2 . การศึกษาดูงานภายในประเทศและต่างประเทศในรายวิชา IB 325 Global Business Experience โดยนักศึกษาจะได้เยี่ยมชมธุรกิจ ส่งออกและธุรกิจข้ามชาติทั ้งในและต่างประเทศ เช่น มาเลเซีย ลาว พม่า สิงคโปร์ อินโดนีเซีย เป็นต้น
3 . จัดสอนเสริมภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่น ( เช่น จีน เกาหลี ญี่ปุ่น เป็นต้น ) ให้สองครั้ง ( เทียบเท่า 2 วิชา ) เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ การทำางานในโลกธุรกิจสากลโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายเพิ ่มเติม โดยจัดให้เรียน เสริมในชั้นปีที่ 3 ทั้งสองภาคการศึกษา ภาคการศึกษาละ 1 วิชา โดยให้ นักศึกษาเลือกว่าจะเรียนภาษาอะไร ( อาจให้นักศึกษาเลือกเรียนระหว่าง ภาษาอังกฤษกับภาษาจีน )
หมายเหตุ กิจกรรมเสริมหลักสูตรข้างต้นนี้ จะอยู่ภายใต้งบประมาณค่า บำารุงโครงการพิเศษ ที่เก็บจากนักศึกษาภาคการศึกษาละ 2,000 บาท รวมตลอดหลักสูตรเป็นจำานวนเงินเท่ากับ 14,000 บาทต่อคน
อัตราค่าเล่าเรียน​ค่าบ�ารุง​และค่าธรรมเนียม
อัตราค่าเล่าเรียน ค่าบำารุง และค่าธรรมเนียมให้เป็นไปตาม อัตราปกติของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยเก็บเพิ่มค่าบำารุงโครงการพิเศษ ภาคละ 2,000 บาท ( เก็บเฉพาะภาคการศึกษาปกติเท่านั้น ภาคฤดูร้อน ไม่เก็บ ) เพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน

( ภาคบ่ายเรียนที่วิทยาเขตกล้วยน�้าไท 3 ปีครึ่ง )
เป็นหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ และโซ่อุปทานที ่มุ ่งเน้นการจัดอบรมหรือบรรยายโดยวิทยากรที ่มีชื ่อเสียง ในหัวข้อต่างๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพหรือประเด็นที่สำาคัญเกี่ยว กับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน และมีรูปแบบการเรียนการสอน ให้นักศึกษาสามารถสำาเร็จการศึกษาได้ภายใน 3 ปีครึ่ง
วันและเวลาเรียน
จันทร์-เสาร์ เวลา 14.00-16.35 น . และ 17.00-19.30 น . ( เรียน 2 วิชาต่อวัน พักระหว่างวิชา 30 นาที )
โอกาสในการประกอบอาชีพ
การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มีจุดมุ่งหมายที่จะสอนให้ นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี ่ยวกับงานทางด้านการวิเคราะห์ และ วางแผนทางด้านการจัดการโลจิสติกส์ขององค์การธุรกิจ เพื ่อให้บรรลุถึง เป้าหมายทางด้านการจัดการโลจิสติกส์ นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นการสอน ให้นักศึกษาเข้าใจถึงการบริหารงานโลจิสติกส์ของบริษัทในด้านต่างๆ เช่น การคลังสินค้า การขนส่ง การกระจายสินค้า การพยากรณ์อุปสงค์ การจัดการวัสดุ การค้าระหว่างประเทศและอื่นๆ ทั้งนี้ ทางสาขาวิชา ได้ปรับปรุงหลักสูตรของสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ทันกับเหตุการณ์และวิทยาการอันทันสมัย ดัง นั้น บัณฑิตที ่จบจากสาขานี ้จะสามารถทำางานด้านโลจิสติกส์ทั้งของภาค รัฐบาลและเอกชนได้เป็นอย่างดี
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจที่เลือกเรียนสาขาวิชาการจัดการ จัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน จะได้รับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขา วิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน จะต้องมีจำานวนหน่วยกิตรวม ทั้งหมด 135 หน่วยกิต
164 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ