BU Present BU ALUMNI Most Distinguished Alumnus | Page 7

ส่วนคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก็ไม่เบา จากการที่เรา มีศูนย์บ่มเพาะนักพัฒนาซอฟต์แวร์ ( Software Developer Incubation Center ) นักศึกษาของเราจึงสนุกสนานกับการได้ เรียนรู้และทดลอง มีการพัฒนาซอฟต์แวร์และออกแบบแอพพลิ- เคชัน จากความคิดสร้างสรรค์ของพวกเขาเอง ทำาให้เราได้เห็น ผลงานที่น่าสนใจหลายชิ้น เช่น ต้นแบบแอพพลิเคชันสำาหรับ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำาท่วม นั่นหมายความว่า พวกเขาไม่ได้ เรียนรู้เพียงแต่เทคโนโลยีเท่านั้น แต่ยังรู้จักใช้เทคโนโลยีเป็น เครื่องมือในการสร้างสรรค์สิ่งที่เป็นประโยชน์ และช่วยแก้ปัญหา ที่เกิดขึ้นต่อมนุษย์ในสภาวะปัจจุบันอีกด้วย !
อยากเล่าถึงเรื่องราวสร้างสรรค์จากกลุ่มคณะ Creative Media and Design บ้าง
รางวัล Popular Vote ในเทศกาลภาพยนตร์สั้นครั้งที่ 12 จัดโดย มูลนิธิหนังไทย ในเวลาต่อมาค่าย GTH ได้นำาบทภาพยนตร์นี้ ไปพัฒนาจนกลายเป็นภาพยนตร์เรื่อง “ ความจำาสั้น แต่รักฉันยาว ” นั่นเอง !
“ ในฐานะมนุษย์พันธุ์ Creator ซึ่งเป็นอาชีพใหม่ที่เกิดขึ้นเพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลงของโลก พวกเขาจะกลายเป็นนักคิด ผู้สร้างปรากฏการณ์ใหม่ในยุคที่โลก หมุนด้วยเศรษฐกิจสร้างสรรค์ !”
หากคุณเคยชมละครเวทีของคณะนิเทศศาสตร์ ที่ Black Box Theatre ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ซึ่งเป็นโรงละครที่พิเศษสุด สำาหรับการเรียนการสอนและสร้างสรรค์ละครแบบทดลอง ( experimental theatre ) คุณจะรู้สึกถึงพลังและความเป็น มืออาชีพของอาจารย์และนักศึกษาของที่นี่ จึงไม่น่าแปลกใจที่ BU Theatre Company ของภาควิชาศิลปะการแสดงได้รับ คัดเลือกจาก Apostrof เทศกาลละครระดับโลก ณ กรุงปราก สาธารณรัฐเช็คถึงสองครั้ง ได้แก่ นาฏกรรมร่วมสมัยเรื่อง “ ระบำา นิพพาน ” ( Dancing to Nirvana ) ในปี 2550 ซึ่งมีเนื้อหา ลึกซึ้งในเชิงจิตวิญญาณของพุทธศาสนา โดยเป็นคณะเดียวจาก เอเชียที่ได้รับคัดเลือกไปแสดง และในปี 2554 ก็ได้รับคัดเลือก จากเทศกาลดังกล่าว ให้เป็น 1 ใน 9 คณะละครจากทั่วทุกประเทศ และเพียงทีมเดียวจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในเรื่อง “ Kafka and I ( and the Agony of Being in the Seemingly Democratic Country Where the Society Is Doomed to Collapse )” ซึ่งมีเนื้อหาเสียดสีแวดวงการเมืองและการศึกษา ของไทยได้อย่างเผ็ดร้อน ทั้งสองเรื่องที่กล่าวมาเป็นฝีมือการ เขียนบทและกำากับการแสดงชั้นเลิศของ ผศ . พรรณศักดิ์ สุขี
ซึ่งหากคุณได้ชมทั้งสองเรื่องแล้ว ก็แทบจะไม่เชื่อว่า นี่คือละคร เวทีที่นักศึกษาเป็นผู้แสดง ...
ส่วนสาขาวิชาภาพยนตร์ ของคณะนิเทศศาสตร์ ปีนี้เราได้เปิด Center for Cinematic and Digital Arts ศูนย์ผลิตภาพยนตร์ และผลงานดิจิตอลครบวงจร ซึ่งเป็นศูนย์รวมการเรียนรู้และ สร้างสรรค์ภาพยนตร์ที่ทันสมัยเทียบเท่าระดับอาชีพ เรียกได้ว่า ดีที่สุดแห่งหนึ่งในแวดวงมหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชีย สำาหรับ นักศึกษาได้ใช้ฝึกจริงทำาจริง โดยมีอาจารย์หลายท่านซึ่งเป็นผู้ กำากับมืออาชีพมาเป็นโค้ชให้ หนึ่งในเรื่องราวแห่งความสร้างสรรค์ อันเป็นผลงานของนักศึกษาสาขาวิชาภาพยนตร์ ได้แก่ ภาพยนตร์ เรื่อง “ Love You If Me Dare ” ผลงานโดย ยศกร สงวนทรัพยากร ( เขียนบท ) และ พิชญะ ไชยดี ( กำากับ ) ซึ่งได้รับรางวัลสุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16 ( ปี 2550 ) ประเภทภาพยนตร์สั้นดีเด่น และอีกเรื่องหนึ่ง คือ ภาพยนตร์เรื่อง “ เวลา ... รัก ” โดย ขนิษญา ขวัญอยู่ ซึ่งได้รับ
ทางด้านคณะศิลปกรรมศาสตร์ ซึ่งมีมืออาชีพระดับแนวหน้าจาก วงการออกแบบสาขาต่างๆ มากมายมาร่วมสอน และอาจารย์ ประจำาของคณะเองก็มีความสามารถและผลงานสร้างสรรค์ใน ระดับแนวหน้า เช่น อาจารย์อรภาวดี เสรีวิวัฒนา ซึ่งเคยสร้าง ผลงาน Origami ( ศิลปะการพับกระดาษ ) ได้อย่างงดงามและ โดดเด่น จนได้รับเชิญจาก Louis Vuitton ในปี 2551 ให้ไป สาธิตพร้อมจัดแสดงผลงาน ณ Louis Vuitton Store ในหลาย ประเทศ อาจารย์คุณภาพเหล่านี้ทำาหน้าที่เป็นทั้งต้นแบบและ แรงบันดาลใจให้นักศึกษา ของเรากระหายที่จะสร้างสรรค์ผลงาน ที่เกิดจากความคิดของพวกเขาเอง
ในฐานะมนุษย์พันธุ์ Creator ซึ่งเป็นอาชีพใหม่ที่เกิดขึ้นเพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลงของโลก พวกเขาจะกลายเป็นนักคิด ผู้สร้างปรากฏการณ์ใหม่ในยุคที่โลกหมุนด้วยเศรษฐกิจสร้างสรรค์ !
ทางด้าน Business and Management Cluster ก็มีทีม นักศึกษาหลายทีมที่กวาดรางวัลจากเวทีต่างๆ มามากมาย ตัวอย่างหนึ่งที่น่ากล่าวถึงคือ ทีมนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ ทีมใหญ่ ที่ชนะเลิศ รางวัลนวัตกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 5 สาขาการเขียนแผนธุรกิจ ซึ่งเป็นการทำางานร่วมกันกับนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ด้วยการนำาเสนอแผนธุรกิจสำาหรับเครื่อง ให้อาหารสัตว์เลี้ยงโดยใช้มือถือสั่งงาน