B Connectmag Issue 11 e-Mag-B-Connect-11 | Page 40
Top Story
CRYPTOCURRENCY 101
อะไรคือเงินสกุลดิจิทัล หรือ Cryptocurrency แล้วที่เรียกกันแบบเหมาๆ แทน Cryptocurrency ว่า Bitcoin (บิตคอยน์) นั้น
แท้จริงแล้วยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนอยู่มาก
หยุดคิดก่อนลงทุนกับ ICO
gawao.com กล่ า วถึ ง นิ ย ามโดยสรุ ป เงิ น สกุ ล ดิ จิ ทั ล หรื อ
Cryptocurrency ว่า
“Cryptocurrency เป็ น สกุ ล เงิ น ดิ จิ ทั ล ชนิ ด หนึ่ ง ที่ ใ ช้ ก าร
เข้ารหัสเพื่อความปลอดภัยและมาตรการป้องกันการปลอมแปลง
กุ ญ แจสาธารณะและคี ย ์ ส ่ ว นตั ว มั ก ใช้ ใ นการถ่ า ยโอนระหว่ า ง
หน่วยงาน Cryptocurrency ธุรกรรม Cryptocurrency เป็นแบบ
ไม่ ร ะบุ ตั ว ตนและไม่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ได้ ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ชื่ น ชอบ
Cryptocurrency ความไม่ เ ปิ ด เผยตั ว ตนนี้ เ ป็ น เทคโนโลย
ที่เหนือกว่า เนื่องจากเป็นการให้อ�ำนาจแก่บุคคลมากกว่า สถาบัน
Cryptocurrencies มักประกอบด้วยการควบคุมแบบกระจายอ�ำนาจ
และบัญชีแยกประเภทสาธารณะที่บันทึกธุรกรรม
Cryptocurrency ท�ำงานเหมือนสื อ ่ กลางในการแลกเปลี ย ่ นโดย
ใช้การเข้ารหัสเพื่อรักษาความปลอดภัยของธุรกรรมและควบคุม
การสร้างหน่วยใหม่ .... และ Cryptocurrency แรกที่สร้างขึ้นคือ
Bitcoin ในปี 2009 ปัจจุบันมี cryptocurrencies อื่น ๆ อีกนับร้อย
ซึ่งมักเรียกกันว่า Altcoins
Gavin Andresen กล่าวว่า Cryptocurrency ถูกออกแบบ
มา เพื่อน�ำกลับมาเป็น “สกุลเงินที่กระจายอ�ำนาจของประชาชน”
โดยการน� ำ ธนาคารกลางออกจากสมการ เนื่ อ งจาก Bitcoin
ต้องมีการเซ็นชื่อแบบ Cryptographically ทุกครั้งที่มีการถ่ายโอน
ผู้ใช้ Bitcoin แต่ละรายมีทั้งคีย์ส่วนตัวและคีย์ส่วนตัว ในขณะที่ม
ข้อก�ำหนด Cryptocurrency หลายร้อยชนิดที่มีอยู่ส่วนใหญ่จะมา
จากหนึ ง ่ ในสองโปรโตคอล หลักฐานการท�ำงานหรือ Proof-of-Stake
Cryptocurrities ทั้งหมดจะถูกเก็บรักษาโดยชุมชนคนขุดแร่ที่มีการ
ตั้งค่าเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่อง ASIC ของพวกเขาท�ำงานอย่าง
หนักในการตรวจสอบและประมวลผลของการท�ำธุรกรรม”
38
B-CONNECT MAGAZINE
ผศ.ดร.ปิ ติ ศรี แ สงนาม
ผู อ ้ ำ � นวยการฝ่ายวิชาการ ศูนย
อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย ผู เ ้ ชี ย ่ วชาญด้าน
เทคโนโลยีด้านการเงิน กล่าว
กับ บีบีซีไทย อย่างน่าสนใจกับ
การลงทุนกับ ICO ว่า
“ก่อนที จ ่ ะตัดสินใจลงทุนกับ ICO นั น ้ ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ
และค�ำนึงถึงปัจจัยที่ต่างกันของแต่ละเหรียญที่มีอยู่นับหมื่นสกุล
ทั่วโลก ที่ส�ำคัญคือเหรียญนั้นเอาไปใช้ได้จริงหรือเปล่า ถ้าใช้ได้จริงๆ
เช่น เอาไปใช้ท�ำธุรกรรมในระบบบล็อคเชนนั้นๆ มันก็อาจจะเป็น
วิธีการที่บริษัทเหล่านั้นใช้ระดมทุนได้ง่าย แต่ถ้าเหรียญไม่สามารถ
น�ำไปใช้ท�ำอะไรได้ ให้ซื้อแล้วถือไว้เฉยๆ เพื่อให้คนกลุ่มหนึ่งเอาเงิน
ไปใช้ ตรงนี้อันตราย
การระดมทุนแลกกับเหรียญดิจิทัลนั้นทั้งง่าย รวดเร็ว ... แต่ ICO
มีความผันผวนสูงและเคลื่อนไหวรวดเร็ว หากไม่มีความรู้และลงทุน
ด้วยความโลภ มีโอกาสเจ๊งได้สูงมาก ... บริษัทที่เลือกใช้วิธีระดม
ทุนผ่าน ICO จึงมักอยู่ในกลุ่มธุรกิจสตาร์ทอัพ ซึ่งไม่สามารถเข้าถึง
เครื่องมือในตลาดทุนอื่นๆ ได้ตามเงื่อนไข”
นอกจากนี้ สิ่งที่ ผศ.ดร.ปิติ ให้ข้อคิดกับเรื่องนี้กับ บีบีซีไทย
เพิ่มเติมว่า อัตราการประสบความส�ำเร็จของสตาร์ทอัพนั้นต�่ำมาก
นอกจากนี้ แม้เทคโนโลยีบล็อคเชนจะมีความปลอดภัยสูง แต่การ
เพิ่มเติมเทคโนโลยีอื่นเข้ามาในการท�ำธุรกรรมของเหรียญบางชนิดก
เปิดช่องให้ถ ก ู โจรกรรมได้ โดยยกตัวอย่างบัญชี E-Wallet ซึ ง ่ สามารถ
ถูกแฮ็คได้ไม่ต่างจากอีเมล อย่างไรก็ตาม การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ใน
การระดมทุนเป็นสิ่งที่ไม่สามารถยับยั้งได้และควรปล่อยให้ด�ำเนินไป
แต่ในเวลาเดียวกันก็ควรจะมีเครื่องมือช่วยยืนยันว่า บริษัทเหล่านี้ม
ตัวตนจริง ผู้ที่เข้ามาซื้อขายมีตัวตนจริง เมื่อได้เงินไปแล้วบริษัทต้อง
น�ำไปใช้ในการลงทุนจริง