B Connectmag Issue 11 e-Mag-B-Connect-11 | Page 19

สานต่อโครงการปั้น Smart Farmer “ เ นื่ อ ง จ า ก จ� ำ น ว น เ ก ษ ต ร ก ร ใ น ประเทศไทยที่มีอยู่ถึง 1 ใน 3 ของประชากร ไทยทั้ ง หมด อี ก ทั้ ง ยั ง คงมี ป ั ญ หาความ ยากจน จากหลายๆ สาเหตุ ซึ่ ง หนึ่ ง ใน นั้ น คื อ ปั ญ หาจากการเข้ า ถึ ง เทคโนโลย ทางการเกษตรทั้งปัจจัยด้านราคาและทักษะ ด้ ว ยเหตุ นี้ ดี แ ทคในฐานะผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร อิ น เทอร์ เ น็ ต จึ ง ได้ ริ เ ริ่ ม โครงการ dtac Smart Farmer ติ ด อาวุ ธ ให้ เ กษตรกร ไทย ด้ ว ยเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม จนปัจจุบันเข้าสู่ปีที่ 10 โดยให้บริการตั้งแต การให้ ข ้ อ มู ล ด้ า นการเกษตรผ่ า น SMS, MMS, แอปพลิเคชันมือถือ การอบรมการ ตลาดออนไลน์ แ ละเทคโนโลยี Internet of Things หรือ IoT” อเล็กซานดรา ไรช ซีอีโอ บมจ. โทเทิ่ลแอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น หรือ ดีแทค กล่าว ปณิธานที่ต้องการปั้นเกษตรกรให้เป็น Smart Farmer ยังคงด�ำเนินอย่างต่อเนื่อง และมั่นคง ล่าสุด ดีแทค ได้ร่วมมือกับ รีคัลท สตาร์ตอัพในโครงการ ดีแทค แอคเซอเลอเรท และ บริ ษั ท รั ก บ้ า นเกิ ด จ� ำ กั ด พั ฒ นา บริ ก าร ฟาร์ ม แม่ น ย� ำ ซึ่ ง เป็ น บริ ก ารให ข้อมูลปัจจัยเพาะปลูกทางการเกษตรเฉพาะ พื้นที่ที่ต้องการทั้งพยากรณ์อากาศที่แม่นย�ำ ติ ด ตามสุ ข ภาพพื ช และข้ อ มู ล วางแผน เพาะปลูกพืช เพื่อติดปีกให้กับเกษตรกรราย ย่อยซึ่งมีกว่า 12 ล้านคนในไทย จากการ ผสานจุดแข็งของดีแทคทางด้านเทคโนโลย การสื่ อ สาร,จุ ด แข็ ง ของรั ก บ้ า นเกิ ด ที่ ม เครื อ ข่ า ยเกษตรกรที่ มี อ ยู ่ ทั่ ว ประเทศ และจุ ด แข็ ง ของรี คั ล ท์ ด ้ า นองค์ ค วามรู ทางวิทยาศาสตร์และข้อมูลสถานีฐานจาก ทั่วโลก ท�ำการวิเคราะห์และแปรผลโดยนัก วิจัยจากมหาวิทยาลัย MIT สหรัฐอเมริกา “ความร่ ว มมื อ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ครั้ ง นี้ เรา คาดหวังว่า จะสามารถเปลี่ยนเกษตรกรไทย ให้ท น ั สมัยเป็น Smart Farmer และหลุดพ้นจาก ปัญหาความยากจนได้ นอกจากนี้ บริการ ฟาร์มแม่นย�ำยังถือเป็นก้าวแรกของดีแทค ในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ควบคู ่ กั บ การสร้ า ง คุ ณ ค่ า ทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมไปด้ ว ยกั น ตามแนวทาง Creating Shared Value (CSV)” อเล็กซานดรา กล่าว บุ ญ ชั ย เบญจรงคกุ ล ประธาน กรรมการ บริ ษั ท รั ก บ้ า นเกิ ด จ� ำ กั ด ย้อนอดีตถึงความผูกพันกับเกษตรกรว่า “บริ ษั ท รั ก บ้ า นเกิ ด ยื น เคี ย งข้ า ง เกษตรกรไทยมาอย่างยาวนาน พูดให้เห็น ภาพก็ต้องบอกตั้งแต่ยุคโนเกีย 3310 จนถึง ยุคนี้เป็นสมาร์ทโฟน ทัชสกรีน แล้วท�ำไม ดี แ ทค กั บ รั ก บ้ า นเกิ ด จึ ง เข้ า มาช่ ว ย เกษตรกร ค�ำตอบง่ายๆ ก็คือ เราอยากให ลูกค้าที่เสียเงินให้กับเราต้องได้อะไรกลับไป มากกว่ า ที่ เ สี ย เงิ น ให้ เ รา โดยเฉพาะกลุ ่ ม เกษตรกรที่ เ ป็ น คนกลุ ่ ม ใหญ่ ข องประเทศ แต่ ยั ง มี ป ั ญ หาทางด้ า นความสามารถ ทางการแข่งขัน อีกทั้งยังต้องรับมือกับปัจจัย ภายนอกที่ควบคุมไม่ได้อย่างภัยธรรมชาต เช่ น น�้ ำ ท่ ว ม, โรคระบาด เช่ น หวั ด นก ในอดีต ดังนั้น เราจึงมีปณิธานที่ชัดเจนว่า เรา ต้องการท�ำให้เกษตรกรเหล่านี้สามารถหา รายได้ ไ ด้ ม ากขึ้ น ๆ ที่ ผ ่ า นมา เกษตรกร ที่ ด� ำ เนิ น ตามหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอ เพี ย งของ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมิพลอดุลยเดช แล้วมีความเป็นอยู่ดี ขึ้ น อย่ า งที่ เ ห็ น ได้ เ ป็ น รู ป ธรรม อย่ า งเช่ น เจ้าของสวนมะนาว มะกรูด จ.นครนายก สามารถน�ำรายได้จากสวนซื้อเบนซ์สปอร์ต ให้ลูกสาว ซึ่งเป็นพยาบาลขับไปท�ำงานได ที่ส�ำคัญ ภาครัฐก็เห็นปัญหาทางการเกษตร บนพื้ น ฐานความเป็ น จริ ง แล้ ว อย่ า งเช่ น ปั จ จุ บั น ที่ ภ าครั ฐ ไม่ ไ ด้ บั ง คั บ ให้ เ กษตรกร ปลูกยางพาราหรือปลูกข้าว เพื่อน�ำข้าวมา จ�ำน�ำ เป็นต้น ปั จ จุ บั น กล่ า วได้ ว ่ า การเกษตรไทย พัฒนาก้าวหน้าอย่างมีนัยส�ำคัญ มีการน�ำ น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ต ่ า ง ๆ เข้ า มาประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ แนวคิ ด ของคนรุ ่ น เก่า ท่ามกลางความท้าทายที่เกิดขึ้นอย่าง มากในปั จ จุ บั น โดยเฉพาะสภาพอากาศ ที่เปลี่ยนแปลงไป มีการพัฒนาเครื่องมือเพื่อ ช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้เกษตรกรมีความ เข้ ม แข็ ง เพื่ อ ให้ เ กษตรกรไทยก้ า วสู ่ ก าร เป็น Smart Farmer อีกทั้งมุ่งมั่นพัฒนา ศัก ยภาพเกษตรกรไทยด้วยการสร้า งฐาน ข้อมูลด้านการเกษตร ผ่านเว็บไซต์ รักบ้าน เกิดดอทคอม ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูล เกษตรอย่างรอบด้าน ทั้งราคาสินค้าเกษตร องค์ ค วามรู ้ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ เพื่ อ พั ฒ นา ภาคการเกษตรไทยสู่ยุคดิจิทัล ฟาร์ ม แม่ น ย� ำ เป็ น อี ก หนึ่ ง ฟั ง ก์ ชั่ น ในแอป Farmer Info ที่ช่วยให้เกษตรกร ทราบถึ ง สภาวะอากาศที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป ในแต่ละวันในพื้นที่ของตนเอง ตลอดจนการ วิเคราะห์สภาพการเพาะปลูกในแปลง เพื่อ แก้ ไ ขปั ญ หาอย่ า งทั น ท่ ว งที ซึ่ ง เราเชื่ อ ว่ า นวัตกรรมดังกล่าวจะเป็นเครื่องมือส�ำคัญ ที่ จ ะช่ ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพและสร้ า งความ เข้มแข็งของภาคเกษตรกรรมไทย” B-CONNECT MAGAZINE 17